Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
left Basal gangia Intracerebral Hemorrhage with Intraventricular Hemorrhae
left Basal gangia Intracerebral Hemorrhage with Intraventricular Hemorrhae
:silhouette:
ประวัติผู้ป่วย
ผู้ป่วยชายไทยวัยสูงอายุ HN 4277
อายุ
90 ปี
เชื้อชาติ
ไทย
สัญชาติ
ไทย
ศาสนา
พุทธ
สถานภาพ
หม้าย
การศึกษา
ประถมศึกษาปีีที่ 4
อาชีพ
ไม่ได้ประกอบอาชีพ
เข้ารับการรักษา
วันที่ 28 เมษายน 2561
:star:
การวินิจฉัยโรค
Lt BSGH with IVH
-
Basal gangina hremorrhage with Intraventricular Hemorrhae
* ( มีเลือดออกในโพรงประสาทด้านซ้ายที่ตำแหน่งBasal gangina ร่วมกับมีเลือดออกในโพรงสมอง)
การผ่าตัด
- ไม่มีการผ่าตัดในครั้งนี้ -*
:pencil2:
ประวัติการเจ็บป่วย
อาการสำคัญ
เกร็งกระตุก เรียกไม่รู้สึกตัว 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ขณะนอนอยู่ มีอาการเกร็งกระตุก เรียกไม่รู้สึกตัว ญาติจึงนำตัวส่งโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
โรคเบาหวาน 20 ปี ความดันโลหิตสูง 20 ปี ไขมันในเส้นเลือด 2 เดือน รับยาต่อเนื่องที่ โรงพยาบาลส่งเสริมตำบลสระแก้ว
:red_flag:
สาเหตุจากตำรา
โรคความดันโลหิต
โรคไขมันในเส้นเลือด
การดื่มสุรา
การสูบบุหรี่
โรคเบาหวาน
โรคหัวใจ
มีความเครียด
:red_flag:
สาเหตุชองผู้ป่วย
:silhouette:
โรคความดันโลหิตสูง 20 ปี
โรคเบาหวาน 20 ปี
โรคไขมันในเส้นเลือด 2 เดือน
ประวัติเคยดื่มสุราเป็นประจำ
:star:
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะ :check:
แขน ขา อ่อนแรง :check:
พูดลำบาก :check:
พูดไม่ชัด :check:
อาการชัก เกร็งกระตุก :check:
อาการชา เสียการทรงตัว :check:
คลื่นไส้อาเจียนรุนแรง :green_cross:
:recycle:
การรักษา
การผ่าตัด :green_cross:
การผ่าตัดระบายของเหลว ในกรณีที่มีเลือดออกเฉพาะแห่งและมีลิ่มเลือดไม่มากเกินไป อาจใช้การเจาะรูผ่านกะโหลกศีรษะและใช้ท่อดูดระบายเลือดออกมา :question:
การเปิดกะโหลกศีรษะ การผ่าตัดชนิดนี้มักใช้รักษาผู้ป่วยที่มีก้อนเลือดขนาดใหญ่ และมีอาการรุนแรง ซึ่งจำเป็นต้องนำก้อนเลือดขนาดใหญ่นี้ออกมาด้วยการเปิดกะโหลกศีรษะของผู้ป่วย :question:
ทั้งนี้ ในระหว่างการผ่าตัด แพทย์อาจให้ยารักษาควบคู่ไปด้วย เช่น ยาขับปัสสาวะช่วยลดอาการบวมรอบ ๆ บริเวณที่มีเลือดออก ยาลดความดันโลหิต ยารักษาอาการวิตกกังวลเพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตให้เป็นปกติ ยากันชัก รวมถึงยาบรรเทาอาการปวดด้วย
หลังจากการผ่าตัดเรียบร้อย ผู้ป่วยอาจต้องได้รับยาต้านชักไปจนถึง 1 ปี เพื่อป้องกันอาการชักที่อาจเกิดขึ้นหลังเนื้อเยื่อสมองได้รับบาดเจ็บ หรืออาจจำเป็นต้องรักษาด้วยยาชนิดนี้ในระยะยาว นอกจากอาการชักก็ยังมีภาวะอื่นที่สามารถเกิดขึ้นในช่วงระยะหนึ่งภายหลังจากการผ่าตัด ได้แก่ การสูญเสียความทรงจำ วิตกกังวล สมาธิสั้น ความสามารถในการเรียนรู้ลดลง ปวดศีรษะ ปัญหาเกี่ยวกับการนอนหลับ ปัญหาการทรงตัว และอัมพาต :
การรักษาด้วยยา :check:
Dilantin 100 mg vein ทุก 8 hr.
Nicardipins (1:5) vein Drip rate 10 ml / hr
Amlodipine 2x1 oral po pc
:red_flag:
ความหมาย
เป็นภาวะที่หลอดเลือดในสมองหรือหลอดเลือดระหว่างกระดูกและสมองแตกออก ทำให้เลือดไปสะสมและกดอัดเนื้อเยื่อสมอง ถือเป็นภาวะที่อันตรายและร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ ผู้ที่มีภาวะนี้จะต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน :fire: :no_entry:
:<3:
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลตามตำรา
การกำซาบของเนื้อเยื่อสมองลดลง :explode:
เสี่ยงต่อร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ :explode:
เสี่ยงต่อการขาดสารน้ำขาดสารอาหาร :explode:
เสี่ยงต่อภาวะปอดอักเสบจากการสำลัก :!?: :
เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่อวจากคาสายต่างๆ :explode:
ไม่สามารถดูแลตนเองได้เนื่องจากบกพร่องทากงระบบคาวมรู้สึกและการเคลื่อนไหว :explode:
:<3:
วินิจฉัยทางการพยาบาลตามผู้ป่วย
:silhouette:
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากการกำซาบของเนื้อเยื่อลดลงจากการมีเลือดออกในสมอง :silhouette:
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ IICP เนื่องจากมีเลือดออกในสมองข้างซ้าย :silhouette:
เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับเนื่องจากไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ :silhouette:
พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจาก แขนขา อ่อนแรง :silhouette:
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินหายใจเนื่องจากไม่สามารถขับออกเองได้ :silhouette: