Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เด็กชาย อายุ 1ปี 4เดือน Animal bite (D-Method (M (ผู้ป่วยได้รับยาปฎิชีวะเ…
เด็กชาย อายุ 1ปี 4เดือน
Animal bite
CC
มีรอยเขียวช้ำ บริเวณไหล่แขนช้างขวา 7ชม.ก่อนมารพ.
PI
7ชม.ก่อนมารพ.มารดาบอกว่าลูกร้องไห้ ตรวจดูตามร่างกายพบรอยเขียวช้ำบริเวณไหล่ขวา ปวดบวม มีไข้ขึ้นจึงพามาโรงพยาบาล
S&S
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ร้องกวน มีรอยเขียวช้ำ ต้นแขนขวาบวมแดง ปวด
มีไข้
Treatment
MED
-Ibupofen syr(100) 5ml tid oral pc.
-para syr 1tsp prn q 6hr.
-Augmantin 300 mg V q 12hr.
-pethidine 10 mg V prn q 4hr
-CPM 1mg IV q 8hr.
dressing OD
Nursing
Obs. อาการปวด บวม แดง ,dressing
Lab
CBC
WBC 10.62 x10 ^3cell/mm3
Eosinophill 12%
Health problem
1.เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
O
ถูกตะขาบกัด มีแผลบวมแดงที่ต้นแขนข้างขวา
A
สิ่งแปลกปลอมที่เข้ามา จากเชื้อโรคหรือสัตว์มีพิษกัดภูมิคุ้มกันของร่างกายไม่สามารถกำจัดเชื้ออกได้หมดจึงอาจเกิดการติดเชื้อได้
P
V/S , ประเมินแผล บวมแดง ,ความปวด
ดูแลให้ได้รับยาปฎิชีวนะ
-Augmantin 300 mg V q 12hr.
-pethidine 10 mg V prn q 4hr
-CPM 1mg IV q 8hr.
dressing OD
ล้างมือก่อนและหลังทำหัตถการทุกครั้ง
ดูแลความสะอาดและจัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด
2.pain
S
แม่บอกว่าน้องร้องกวน เปิดที่นอนดูเห็นตะขาบอยู่
O
มีรอยเขียวช้ำที่ต้นแขนข้างขวา
A
ปวดแขนเนื่องจากถูกสัตว์มีพิษกัด เกิดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ
และกระแสประสาท
P
ประเมินV/S q 4hr.
Obs อาการไข้ปวด บวมแดง หนองและลักษณะของแผล
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด
-Ibupofen syr(100) 5ml tid oral pc.
-para syr 1tsp prn q 6hr.
เบี่ยงเบนความสนใจเวลาเจ็บปวด
Pathophysiology
Animal bite
ถูกตะขาบกัด
พบรอยเขี้ยว 2 รอย
ลักษณะเป็นจุดเลือดออกตรงบริเวณที่ถูกกัด
พิษสารก่อปฏิกิริยาอักเสบต่อร่างกาย
hydroxytryptamine หรือ cytolysin
เกิดการอักเสบ
ปวดบวมแดง ร้อน ชา
มีไข้
D-Method
M
ผู้ป่วยได้รับยาปฎิชีวะเป็นยาฆ่าเชื้อและได้รับยาแก้ปวด
E
แนะนำการจัดสิ่งแวดล้อม หมั่นทำความสะอาดอยู่ตลอดเวลา
T
เฝ้าดูอาการ และให้ยาปฎิชีวนะและยาแก้อักเสบเพื่อลดอาการบวมแดง
D
ผู้ป่วยถูกตะขาบกัดและได้นำมาให้แพทย์ดู
จึงต้องรับรักษาในโรงพยาบาลเพื่อเฝ้าดูอาการแรกซ้อน
สิ่งที่ได้เรียนรู้ : การทำงานที่เป็นระบบ ไม่ประมาท และการให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยเมื่อกลับบ้านแล้วยังต้องใช้ไม้คำยันในการช่วยเดิน