Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงของมารดาในระยะหลังคลอด (การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม…
การเปลี่ยนแปลงของมารดาในระยะหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคและสรีรวิทยา
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
มดลูก
หลังคลอด : ลดลงทันทีที่ทารกและรกคลอด มีก้อนแข็ง อยู่ระดับสะดือหรือต่ำกว่าสะดือเล็กน้อย
หลัง 24 ชม. : มดลูกลอยเหนือสะดือเล็กน้อย เอียงไปทางขวา
วันที่ 10 หลังคลอด : มดลูกอยู่ระดับหัวเหน่า
มดลูกลงสู่อุ้งเชิงกราน วันละ 0.5-1 นิ้ว จนปกติ = "มดลูกเข้าอู่"
น้ำคาวปลา
Lochia rubra : 1-3 วัน สีแดงเข้ม มีขี้เทา ไข และขนอ่อนบุตรปนด้วย
Lochia serosa = 4-9 วัน สีแดงจางๆหรือสีชมพู จนเป็นสีน้ำตาล มีเม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดแดง เศษเยื่อบุมดลูก
Lochia alba = 10-14 วัน เริ่มเปลี่ยนเป็นสีขาว มีเม็ดเลือดขาว เมือก อาจมีเศษเยื่อบุมดลูก
ปากมดลูก
หลังคลอดทันที '= มีลักษณะนุ่มมาก ไม่เป็นรูปร่าง ทั้ง Internal และ External os
หลังคลอด 1 สัปดาห์ = มีลักษณะแข็ง กว้างประมาณ 1 cm
6 สัปดาห์หลังคลอด : เหมือนรอยตะเข็บหรือรอยแตก ด้านนอกไม่กลมเหมือนระยะก่อนคลอด สามารถบอกให้ทราบว่าสตรีรายใดผ่านการคลอดมาแล้ว
ช่องคลอด
หลังคลอด : ช่องคลอดจะอ่อนนุ่มมาก รอยย่นภายในลดน้อยลง เส้นผ่าศูนย์กลางจะกว้างกว่าระยะก่อนคลอด
วิธีแก้ไข : Kegel's exercise คือ การออกกำลังกล้ามเนื้อของอุ้งเชิงกราน ที่เป็นส่วนควบคุมหูรูดของช่อง/ปากทวารเบา และปากช่องคลอดให้แข็งแรง กระชับ ซึ่งจะช่วยให้สามารถกลั้นปัสสาวะได้ดีขึ้น
การมีประจำเดือน
แม่ให้นมทารก
ทารกดูดนม
กระตุ้นต่อมไฮโปทาลามัส
เส้นประสาท/สมอง กดไม่ให้หลั่ง FSH+LH
ไม่มีการตกไข่และไม่มีประจำเดือน
เต้านม
หลั่ง H.prolactin
กระตุ้น cell ผลิตน้ำนม
สร้างน้ำนม
เกิดกลไก let down reflex หรือ milk ejection reflex
ต่อมไร้ท่อต่างๆ
ฮอร์โมนต่างๆในร่างกายลดลง เพื่อปรับสมดุลในร่างกายให้เป็นปกติ
การเปลี่ยนแปลงระบบต่างๆ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ส่วนประกอบของเลือดลดลงเพื่อปรับสมดุลในร่างกายให้ปกติ
เม็ดเลือดขาวสูง
มารดาอาจมีไข้ได้หลังคลอด เนื่องจากขาดน้ำและกลไกป้องกันการติดเชื้อ ช่วยการหายของแผล
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ร่างกายปรับสมดุลโดยการกำจัดน้ำและเกลือโซเดียม
เพื่อให้ความดันไม่เพิ่มขึ้น
ระบบทางเดินอาหาร
อาจมีอาการท้องผูก
เนทื่องจากกล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อน
ระบบผิวหนัง
ผ้าที่ใบหน้า
สีลานนมเข้มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
แบ่งตามระยะ เป็น 3 ระยะ ดังนี้
Taking-in phase : 1-2 วัน มุ่งที่ตนเอง สนใจแต่ความสุขสบายของตนมากกว่าจะนึกถึงบุตร
Taking-hold phase : ประมาณ 10 วัน สนใจตนเองน้อยลง สนใจบุตรมากขึ้น
Letting-go-phase : ระยะที่มารดากลับบ้านแล้ว สามารถทำหน้าที่ "พัฒนกิจการเป็นมารดา"ได้
การปรับตัวต่อบทบาทของมารดา
สัมพันธภาพระหว่างสามี
2.การรับรู้ถึงการมีส่วนร่วมในการดูแลบุตรของสามี
3.ความพึงพอใจของมารดาที่มีต่อประสบการณ์ในระยะเจ็บครรภ์และระยะคลอด
4.ความพึงพอใจของมารดาต่อสภาพชีวิต และฐานะทางครอบครัว
5.ความมั่นใจของมารดาในการทำตามบทบาท
6.ความพึงพอใจในการเลี้ยงดูบุตร
ปัจจัยที่มีผลต่อการปรับตัวสู่บทบาทการเป็นมารดา
บุคลิกและการเลี้ยงดูที่ได้รับในวัยเด็ก
อายุ : บ่งบอกถึงวุฒิภาวะของบุคคล
ประสบการณ์ในการเลี่ยงดูเด็ก
การศึกษา
รายได้
สัมพันธภาพในชีวิตสมรส
บทบาทการเป็นมารดา
1.การปรับตัวเข้าสู่บทบาทใหม่ : เรียนรู้ภารกิจมารดาที่ต้องกระทำในการเลี้ยงดูบุตร
2.การกสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างมารดา-บิดาและบุตร : เรียนรู้พฤติกรรมการแสดงต่างๆของบุตร มีความชื่นชม และคงไว้ซึ่งการมีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสามี-ภรรยา
3.การจัดแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของสมาชิกในครอบครัวให้เหมาะสม
4.การวางแผนครอบครัว