Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบประสาท (สมองบาดเจ็บ (Traumatic brain injury …
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบประสาท
การประเมิินทางระบบประสาท
การประเมินการรับรู้สติและความรู้สึกนึกคิด
LOC
GCS
กลุ่มอาการและอาการแสดงที่พบบ่อย
การเปลี่ยนแปลงระดับการรับรู้สติ
:pencil2:การรู้สติ (Consciousness)
Content
Arousal
:pencil2:การหมดสติ (Unconscious, coma) : ภาวะที่ไม่มีการตอบสนองเลยต่อสิ่งกระตุ้น
ระดับความรู้สึกตัว
ความผิดปกติของการหายใจ
ความผิดปกติของม่านตา
ความผิดปกติของการเคลื่อนไหวลูกตา
การเปลี่ยนแปลงของระบบการเคลื่อนไหว
การวินิจฉัย
GCS
การตรวจพิเศษ : CT, MRI, EEG
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : Blood sugar, Electrolyte, serum ammonia, liver function test, BUN etc.
ปวดศีรษะ (Headache)
สาเหตุ
การถูกดึงรั้ง ยืด หรือการขยายตัวของ intracranial หรือ extracranial arteries
การถูกดึงรั้ง หรือ displacement ของ intracranial veins
การถูกดึงรั้ง หรืออักเสบที่ cranial และ spinal nerves
การหดเกร็ง อักเสบ หรือการได้รับบาดเจ็บที่ cranial และ cervical muscles
meningeal irritation หรือ IICP
แนวทางการวินิจฉัย
ลักษณะการปวด
tension headache
migraine
ความรุนแรงในการปวด
ตำแหน่งที่ปวด
ระยะเวลาที่ปวด
สมองบาดเจ็บ (Traumatic brain injury : TBI)
ก. การเปลี่ยนแปลงการทำงานของสมอง ต้องมีองค์ประกอบทางคลินิกอย่างน้อย 1 ข้อ
สูญเสียความรู้สึกตัว
จำเหตุการณ์ไม่ได้
อาการบกพร่องทางระบบประสาท
การเปลี่ยนแปรงของ mental state ในขณะเกิดเหตุ
ข. พยาธิสภาพในสมอง
ค. การบาดเจ็บที่มีแรงกระทบจากภายนอก
ระดับความรุนแรงของสมองบาดเจ็บ
แบ่งออกได้ 3 ระดับ GCS
Mild 13-15
Moderate 9-12
Severe 3-8
ภาวะแทรกซ้อน
: IICP
กลุ่มอาการที่เป็นผลจากการมีความพร่องของสมดุลระหว่างปริมาตรและความดันภายในกะโหลกศีรษะ ความดันกะโหลกศีรษะปกติอยู่ที่ประมาณ 0 ถึง 15 มิลลิเมตรปรอท ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นจะทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อสมองคือเมื่อมากกว่า 20 มิลลิเมตรปรอท
ปัจจัยเสี่ยง
กิจกรรมที่ทำให้ความดันในทรวงอกเพิ่มขึ้น, ถ้านอนไม่เหมาะสม, การเพิ่มแรงต้านที่คอ, กล้ามเนื้อเกิดแรงต้านจากการเกร็ง, ความปวดและภาวะอารมณ์เครียด, ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
อาการ
อาการเริ่มแรก คือ การเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัวพูดช้าและตอบสนองต่อคำพูดช้า
Cushing's response
มีการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว เนื่องจากสมองถูกกดทับเมื่อ ICP เพิ่มขึ้นมากผู้ป่วยจะมี Stuporus, ตอบสนองเฉพาะเสียงที่ดังมากหรือกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด เป็นอาการที่บ่งบอกว่าการไหลเวียนเลือดที่สมองไม่เพียงพอ
ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขผู้ป่วยจะเข้าสู่ภาวะโคม่าพบ Abnormal Motor Response
การพยาบาล
นอนศีรษะสูงประมาณ 30 องศา ศีรษะไม่ก้มหรือเงยมากเกินไป เพื่อให้การระบายของเลือดกลับเข้าสู่หัวใจได้ดีขึ้น เลี่ยงการงอข้อสะโพกที่มากเกินไป เลี่ยงการนอนท่าคว่ำหรือศีรษะต่ำกว่าปลายเท้า
V/S, N/S, LOC, GCS, ทุก 15 - 30 นาที หรือ 1 ชม ตามสภาพของ PT
ดูแลการได้รับออกซิเจน ดูดเสมหะตามความจำเป็นและมีประสิทธิภาพ
ดูแลเรื่องการใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ ติดตามการหายใจและ abg
เลี่ยงสิ่งที่จะทำให้เพิ่มความดันในช่องอก
CCF
Hydrocephalus
Post concussive syndrome
Seizure
การพยาบาล
ดูแลจัดทางเดินหายใจให้โล่ง ให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
คงค่าเฉลี่ยความดันเลือดแดงให้อยู่ในเกณฑ์ปกติหรือคงที่
ประเมินอาการทางระบบประสาทร่วมกับระบบอื่นๆของร่างกาย
ดูแลสมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ในร่างกายให้อยู่ในระดับขาดน้ำเล็กน้อย
ดูแลรักษาสมดุลกรดด่างของร่างกายให้เป็นปกติ
ป้องกันการติดเชื้อของร่างกายและรักษาอุณหภูมิร่างกายให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในระบบต่างๆ
ประคับประคองจิตใจผู้ป่วย ญาติและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย
Spinal Cord Injury
Complete Transection of the cord
Partial transection of the cord
อาการและอาการแสดง
มีการเปลี่ยนแปลงของระบบหายใจ
ระบบประสาทสั่งการและระบบประสาทรับความรู้สึกในระดับต่ำกว่าที่บาดเจ็บจะมีการเปลี่ยนแปลง 3. สูญเสียการรับความรู้สึกและกล้ามเนื้ออ่อนแรงในระดับต่ำกว่าที่บาดเจ็บ
สูญเสียรีเฟล็กซ์ทั้งหมดในระดับต่ำกว่าที่บาดเจ็บ
สูญเสียการทำงานของทางเดินอาหารและกระเพาะปัสสาวะ
ภาวะแทรกซ้อน
respiratory failure
autonomic dysreflexia
3.spinal shock
death
เป้าหมายของการพยาบาล
แก้ไขปัญหาที่จะทำให้ถึงแก่ชีวิต เช่น ภาวะเลือดออก หายใจลำบาก เป็นต้น
แก้ไขสาเหตุที่ทำให้ไขสันหลังได้รับบาดเจ็บ
ป้องกันไม่ให้ไขสันหลังได้รับบาดเจ็บหรือมีพยาธิสภาพเพิ่มมากขึ้น
ป้องกันโรคแทรกซ้อนที่มักเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
การปฏิสัมพันธ์ระหว่างแพทย์บุคลากรทางเวชกรรมฟื้นฟูและผู้ป่วยและญาติ