Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สื่อมวลชน และสื่อสังคม (เชิงคุณภาพ) (9 คน) (ความรู้เกี่ยวกับแบรนด์ อพท…
สื่อมวลชน และสื่อสังคม (เชิงคุณภาพ) (9 คน)
ประสบการณ์
1-4 ปี
เกิน 10 ปี
การรับรู้บทบาทหน้าที่ อทพ
ดูแลพื้นที่พิเศษด้านการท่องเที่ยวชุมชน
พัฒนาพื้นที่ร่วมกับชุมชน
ทำงานต่างจาก ททท
ช่องทางการรับรู้ข่าวสาร อพท
สื่อประชาสัมพัน์ของ อพท
ข่าวประชาสัมพันธ์
จดหมายเชิญร่วมงาน
สื่อสิ่งพิมพ์
หนังสือพิมพ์
นิตยสารแจกฟรี
สื่อใหม่
สำนักข่าวออนไลน์
เว็บไซต์แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว
เว็บไซต์ อพท
สื่อบุคคล
ความสัมพันธ์ส่วนตัวกับผู้บริหาร เจ้าหน้าที่
สื่อกิจกรรม
ประชุม สัมมนา
ความรู้เกี่ยวกับแบรนด์ อพท
รู้จักชื่อย่อภาษาอังกฤษ
รู้จัก 5 คน
ไม่รู้จัก 4 คน
รู้จักโทนสีของโลโก้
รู้จัก 3 คน
ไม่แน่ใจ 6 คน
รู้จักโลโก้
รู้จัก 7 คน
ไม่รู้จัก 1 คน (จำโลโก้เดิม)
รู้จักประเภทองค์กร
รู้จักว่าเป็นองค์การมหาชน 9 คน
รู้จักวิสัยทัศน์
รู้จัก 7 คน
ไม่รู้จัก 1 คน
ไม่แน่ใจ 1 คน
รู้จักภารกิจ
รู้จัก 6 คน
ไม่รู้จัก 1 คน
ไม่แน่ใจ 1 คน
ไม่แน่ใจว่าเชิงรุกหรือไม่ 1 คน
ภาพลักษณ์แบรนด์ อพท
คุณค่าต่อชุมชน
ชุมชนเห็นศักยภาพและคุณค่าของตนเอง
ชุมชนได้รับการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว
ชุมชนรักษาต้นทุนทางวัฒนธรรม
ชุมชนได้รับการพัฒนาอยางยั่งยืน อยู่ดีมีสุข
คุณค่าต่อเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจฐานราก (ระดับชุมชน)
แต่ยั่งยืนหรือไม่
มีคุณค่าน้อย เพราะดูแลเฉพาะพื้นที่พิเศษในเมืองเล็กหรือจังหวัดเล็ก
ไม่มีภารกิจด้านการตลาดการท่องเที่ยว ภาพลักษณ์ด้านนี้จึงไม่ชัดเจน
คุณค่าต่อสิ่งแวดล้อม
ชุมชนรักษาสิ่งแวดล้อม
ยังไม่ชัดเจน อาจจะทำภารกิจนี้แต่คนภายนอกไม่รับรู้
คุณค่าต่อสังคมไทย
เกิดการท่องเที่ยวเมืองรอง
เศรษฐกิจระดับมหภาคเติบโต เพราะเศรษฐกิจจุลภาค (ชุมชน) แข็งแรง
ไม่ชัดเจน เพราะการสื่อสารไม่ชัดเจน และไม่ต่อเนื่อง
คุณประโยชน์ของแบรนด์ อพท
ความสำคัญของ อพท
สำคัญต่อพัฒนาการท่องเที่ยวของไทย
ภารกิจเจาะจงที่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ทำให้เกิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
การมีอยู่ของ อพท (หากไม่มี อพท)
ไม่ได้มีผลอะไร
การท่องเที่ยวโดยรวมพัฒนาต่อไปได้เพราะมีหน่วยงานอื่นทำแทน
ซ้ำซ้อนกับ ททท
มีผลกระทบ
การท่องเที่ยวจะเน้นการตลาดมากกว่าพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
เน้นผลลัพธ์เชิงตัวเลข ผลระยะสั้น
ถ้าหน่วยงานท้องถิ่นดูแล จะขาดงบประมาณ แหล่งท่องเที่ยวชุมชนจะถูกละเลย
การถูกทดแทนด้วยองค์กรอื่น
องค์กรระดับท้องถิ่นในพื้นที่
ททท
กระทรวงท่องเที่ยวฯ
ไม่มีหน่วยงานใดทดแทนได้
ไม่จำเป็นต้องมีหน่วยงานด้านนี้ในระยะยาว รัฐเข้าไปกระตุ้น แล้วให้ชุมชนดูแลต่อเอง เป็นการสร้างความยั่งยืนจริง ๆ
ความต้องการมีส่วนร่วมกับ อพท
แรงจูงใจ
ได้รับเชิญให้เข้าร่วม
กิจกรรมน่าสนใจ
ความต้องการมีส่วนร่วมในอนาคต
กิจกรรมกับสื่อมวลชน
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ อพท เพื่อความเข้าใจ อพท
กิจกรรมลงพื้นที่ ให้สื่อมวลชนร่วมเป็นจิตอาสา
กิจกรรมลงพื้นที่ ให้เข้าไปดู "ก่อน-หลัง" ที่ อพท เข้าไปทำงานในพื้นที่
กิจกรรมกับชุมชน
ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน
ทำงานกับชุมชนต่อเนื่อง เกาะติดพื้นที่
พัฒนาผู้นำชุมชนด้านสิ่งแวดล้อม
ความคาดหวังต่อ อพท
ต่อประเทศ
พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ให้เม็ดเงินเข้าประเทศมากขึ้น
ทำงานอย่างเข้มแข็งให้คุ้มกับเงินงบประมาณที่เป็นภาษีของประชาชน
กระตุ้นให้พื้นที่ต่าง ๆ ตระหนักถึงความสำคัญของการท่องเที่ยวโดยชุมชน เมื่อชุมชนเข้มแข็ง ต้องพัฒนาระบบบริหาร ไม่เข้าไปช่วยเหลือตลอดเวลา
ไม่คาดหวังระดับประเทศ ขอให้ทำระดับชุมชนให้สำเร็จก่อน
ต่อชุมชน
ทำดีอยู่แล้ว ไม่คาดหวังไปกว่านี้
ประสานหน่วยงานรัฐ ทำให้ชุมชนขับเคลื่อนเองได้ ไม่เข้าไปสนับสนุนตลอดไป
ทำให้ชุมชนกินดีอยู่ดีอย่างยั่งยืน อยู่ได้ด้วยตนเอง
เน้นพัฒนาคน ไม่ใช่สนับสนุนเงินเท่านั้น
ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวให้เป็นที่รู้จัก
ช่วยชุมชนวางแผนจัดการปัญหาและผลกระทบจากการท่องเที่ยว
ต่อนักท่องเที่ยว
ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว
ประชาสัมพันธ์กับชาวต่างชาติ ร่วมกับ ททท
ให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนในการท่องเที่ยวในชุมชน
การสื่อสารภายในแหล่งท่องเที่ยว เช่น ป้ายต่าง ๆ
ไม่จำเป็นต้องมีบทบาทกับนักท่องเที่ยว แต่ให้ชุมชนมีบทบาท สร้างการเปลี่ยนแปลงในตัวนักท่องเที่ยว (1 คน)
ในภาพรวม
อพท ต้องเป็นที่รู้จักของสาธารณชนมากกว่านี้
เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนระดับประเทศ
รัฐบาลให้การสนับสนุน อพท ให้ชัดเจนเรื่องอำนาจ บทบาทหน้าที่
อพท ต้องมีผลงานที่ชัดเจนต่อสาธารณชน ดำเนินงานตามภารกิจให้ได้