Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพและการพยาบาลที่สำคัญของระบบหัวใจและหลอดเลือด (เยื่อหุ้มหัวใจอัก…
ปัญหาสุขภาพและการพยาบาลที่สำคัญของระบบหัวใจและหลอดเลือด
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (Pericarditis)
สาเหตุ
Acute pericarditis
การอักเสบที่ไม่ทราบสาเหตุ
Virus,bacteria,fungi
Chemotherapy
Myocardial Infarction
Chronic pericarditis
TB
การฉายรังสี
การ Metastasis ของมะเร็ง
ภาวะแทรกซ้อน
Pericardial eflfusion
Cardiac Temponade
อาการและอาการแสดงที่สำคัญ
อาการเจ็บหน้าอก (Precordial pain) : เจ็บปวดร้าวไปที่คอ ไหล่ หลัง ต้นแขน ดีขึ้นเมื่อนั่งก้มตัวไปข้างหน้า
เสียงเสียดสีระหว่างเยื่อหุ้มหัวใจทั้งสองชั้น (Precordial friction rub)
หายใจลำบาก (Dyspnea)
การวินิจฉัยโรค
1. การตรวจร่างกาย
Precordial friction rub
อาการแสดงของน้ำขังในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ : เสียงหัวใจค่อยลง แรงกระแทกจากยอดหัวใจค่อยลง, Ewart' sign, การโป่งตึงของหลอดเลือดดำที่ลำคอ
2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC และ ESR : ESR และ WBC สูง
ทดสอบ TB
BUC,Cr สูงในกรณีที่เกิดภาวะยูรีเมีย
3. การตรวจพิเศษ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ : ST และ T เปลี่ยนแปลง ความสูงของ QRS complex ลดลง อาจพบ sinus tachycardia หรือ Atrial flutter ได้
Chest x-ray : ไม่มีน้ำ-->ปกติ , มีน้ำ > 500 ml -->ขนาดหัวใจโตขึ้น
Preicardiocentesis
การรักษา
ให้ยาแก้ปวด ยาลดไข้ ยาปฏิชีวนะ
Pt ที่มีภาวะ Constrictive pericarditis รักษาแบบ Pt หัวใจวาย
การเจาะช่องทำ pericadial eindow ในรายที่ติดเชื้อเรื้อรัง
การพยาบาล
: มุ่งเน้นในการบรรเทาอาการเจ็บหน้าอกโดยลดการอักเสบ
ประเมินอาการเจ็บหน้าอก ให้ยาแก้ปวด (Analgesics) ตรามแนวทางการรักษา
ให้มีกิจกรรมบนเตียง นอนศีรษะสูงเล็กน้อย
แนะนำให้นั่งก้มหน้าไปข้างหน้า อาการจะดีขึ้น
ช่วยเหลือการทำกิจวัตรประจำวัน
ฟังเสียงหัวใจอย่างน้อยทุก 2 ชม ในระยะเฉียบพลัน
V/S ทุก 4 ชม
ติดตามผล EKG สังเกตหลอดเลือดดำที่คอโป่ง
ให้ยาแก้อักเสบตามแผนการรักษา
จัดให้ Pt อยู่ในที่ที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี ไม่ร้อนเกินไป
การดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดคามวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ ให้โอกาศในการซักถาม และให้มีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis)
สาเหตุสำคัญ
: ไข้รูห์มาติค ไข้หวัดใหญ่ เยื่อบุหัวใจชั้นในอักเสบ
การวินิจฉัย
1. ประวัติความเจ็บป่วย
ประวัติความเจ็บป่วยที่ผ่านมา
ยาเสพติดต่างๆ
สุขนิสัยส่วนบุคคล
2. อาการและอาการแสดง
ไม่รุนแรง : ไม่มีอาการ แต่คลื่น T ผิดปกติ
รุนแรง : อ่อนเพลีย ไข้ N/V เบื่ออาหาร ใจสั่น ใจเต้นเร็ว หายใจลำบาก นอนราบไม่ได้
3. การตรวจร่างกาย
BP ต่ำ, P ไม่ได้สัดส่วนกับ T ที่สูงขึ้น
ฟังหัวใจได้เสียง
Gallop
และ Pericardial rub
การพยาบาล
จำกัดกิจกรรม Bed rest
V/S ทุก 4 ชม หรือตามสภาพ Pt
ตรวจสอบ EKG สม่ำเสมอ
ฟังเสียงหัวใจ และปอด วันละ 1 ครั้ง
ให้ยาตามแปผนการรักษา เช่น Digitalis , Diuretic สังเกต S/E
สังเกตอาการและอาการแสดงของการไหลเวียนเลือดลดลง
ชั่ง นน ทุกวัน สังเกตอาการบวมส่วนปลายของร่างกาย
เยื่อหุ้มหัวใจชั้นในอักเสบ (Endocarditis)
สาเหตุ
: ส่วนใหญ่เป็นเชื้อแบคทีเรียซึ่งเข้าสู่กระแสเลือดได้จากการมีทางเข้าหรือแผลเปิดในบริเวณหนึ่งบริเวณใดของร่างกาย เช่น
มีแผลในปากจากฟันผุหรือถอนฟัน
ทางเดินปัสสาวะจากการสวนปัสสาวะ
ทางผิวหนังจากมีแผลขูดขีด
ทางเดินหายใจ
อาการและอาการแสดงที่พบได้เสมอ
: เกิดจากโรคหัวใจที่เป็นอยู่แล้วหรือเป็นผลจากการติดเชื้อ โดยจะเป็นอาการที่แสดงเนื่องจากลิ้นหัวใจตีบ และรั่ว และจากการที่มีเกร็ดเลือด ไฟบริน รวมตัวกันอยู่ตามบริเวณเยื่อหุ้มหัวใจที่มีการติดเชื้อ ทำให้เกร็ดเลือด ไฟบริน ในกระแสเลือดลดต่ำ อาจทำให้ Pt เลือดออกได้ง่ายหรือเกิดจ้ำเลือดตามผิวหนัง
การพยาบาล
จำกัดกิจกรรม นอนพักบนเตียง (Bed rest)
ให้ยาต้านจุลชีพตามแผนการรักษา
V/S ทุก 4 ชม
สังเกตอาการและอาการแสดงของการอุดตัน เช่น ระดับความรู้สึกตัว อาการชา
อธิบายเกี่ยวกับความจำเป็นและเหตุผลในการเจาเลือดเพาะเชื้อบ่อยๆ
สังเกตบริเวณที่แทงเข็มเกี่ยวกับการบวมแดง ร้อน เลือดออก
ให้ Pt ทานอาหารโปรตีนสูง คาลอรี่สูงเพื่อส่งเสริมการหายของแผล
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการต่างๆ และการเจาะเลือดเพาะเชื้อ
บันทึก I/O ทุก 8 ชม
แนะนำ Pt รักษาความสะอาดปาก-ฟัน ทุกครั้งหลังทานอาหาร โดยเฉพาะถ้ามีฟังผุหรือเหงือกอักเสบต้องทำความสะอาดบ่อยครั้ง
3. การอักเสบของหัวใจ (Inflammation of the Heart)