Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคสมองพิการ(Cerebral palsy) (การพยาบาล (ความสามารถในการเคลื่อนไหวผิดปกติเ…
โรคสมองพิการ(Cerebral palsy)
การรักษา
กายภาพ
การใช้เครื่องดาม
การใช้อุปกรณ์พยุง
การใส่เฝือก
Chronic cerebella stimulation
Stereotaxic thalamotomy
Selective partial dorsal rhizotomy
ผ่าตัด
ย้ายเอ็น
กระดูก
ยา
ยาคลายกล้ามเนื้อ
Baclofen
Dentrolene
Diazepam
ยาป้องกันชัก
Epilim
Tegretol
Dilantin
การพยาบาล
ได้รับสารอาหารไม่สมดุลต่อความต้องการของร่างกายเนื่องจากความบกพร่องของร่างกาย
จัดอาหารแคลลอรี่สูงให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ชั่งน้ำหนักพื่อประเมินการได้รับสารอาหารของเด็ก
กระตุ้นให้เด็กใช้อุปกรณืในการรับประทานอาหารระวังการสำลักอาหารเข้าปอด ถ้าเด็กรับประทานอาหารเองไม่ได้ ต้องดูแลการให้อาหารทางสายยาง
ดูแลให้ได้รับวิตามิน เกลือแร่ โปรตีนเสริม
แนะนำอุปกรณืและวิธืการฝึกเด็กที่มีปัญหาเรื่องการดูดการกลืน จากนักอาชีวะบำบัดเพื่อให้เด็กได้รับสารอาหารที่เพียงพอ
เสี่ยงต่อพัฒนาการล่าช้ากว่าวัยในด้านการเจริญเติบโต การสื่อสาร และอารมณ์ เนื่องจากความบกพร่องของระบบประสาท
ใช้วัตถุหรือรูปภาพเพื่อให้เด็กเข้าใจและฝึกให้เด็กพูดตาม
ติดต่อหน่วยฝึกการพูดตั้งแต่ระยะแรกๆเพื่อให้เด็กสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้ตามศักยภาพ
พูดคุยกับเด็กช้าๆเพื่อให้เด็กเข้าใจในคำพูด
สอนและใช้วิธีการสื่อสารที่ไม่ต้องพูดแก่เด็กที่พูดไม่ได้
ส่งเสริมพัฒนาการในแต่ละด้านโดยใช้ของเล่นหรือกิจกรรมที่ให้เด็กมีส่วนร่วมมากที่สุด
ติดตามและประเมินลักษณะการเคลื่อนไหวของร่างกายและพัฒนาการของเด็ก
ความสามารถในการเคลื่อนไหวผิดปกติเนื่องจากมีความบกพร่องของระบบประสาท
แนะนำผู้ดูแลเด็กให้เด็กมีการออกกำลังกายตามความสามารถของเด็กระวังไม่ให้กระดูกหรือข้อเคลื่อน
ส่งเด็กไปทำกายภาพบำบัดเพื่อป้องกันความพิการอื่นๆ
จัดหาของเล่นที่จะกระตุ้นให้เด็กเกิดการเคลื่อนที่หรือการเคลื่อนไหวและส่งเสริมพัฒนาการแต่ละด้าน
แนะนำผู้ดูแลเด็กในการฝึกเด็กให้ขับถ่ายโดยใช้วิธีที่แตกต่างกันตามความสามารถ
ติดตามและประเมินลักษณะการเคลื่อนไหวของร่างกายและพัฒนาการของเด็กอย่างต่อเนื่อง
ดูแลให้ได้รับการผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติตามแผนการรักษา
ให้รับประทานอาหารตามแผนการรักษาได้แก่ ยาคลายกล้ามเนื้อ
เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บเนื่องจากความบกพร่องด้านการเคลื่อนไหว
จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย เช่นระวังพื้นที่ลื่นเพราะเด็กจะหกล้มได้ง่าย
ให้ยาคลายกล้ามเนื่อในเด็กที่มีการเกร็งของกล้ามเนื้อตามแผนการรักษา
กระตุ้นให้เด็กดูแลตนเองจามความสามารถ ถ้าเด็กไม่สามารถทำได้ ให้ดูแลความสุขสบายทั่วไป
ระวังการเกิดภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจ ในเด็กที่มีน้ำลายหรือเสมหะมากแต่ไม่สามารถขับออกมาได้ โดยดูแลดูุดเสมหะหรือลูกยางแดงใช้ในการดูด
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
Creatine kinase (ck)
การตรวจพิเศษ
Computerized Tomography (CT Scan)
Arthrography : ตรวจการทำงานของข้อ
ตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง (Electroencephalography, EEQ)
Arthroscopy : ส่องกล้องในข้อ
ชนิด
Dyskinetic
Ataxic
Spastic
Spastic hemiplegia
Spastic quadriplegia
Spastic diplegia
Mixed type
การตรวจร่างกาย&ซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
Spastic quadiplegia
ตรวจกล้ามเนื้อสะโพก
ตรวจความผิดปกติทางการได้ยิน
Choreoathetatic
ตรวจอาการผิดปกติใน upper motor neuron
Spastic cerebral palsy
ตรวจความผิดปกติของการประสานงานกล้ามเนื้อที่ทำงานหยาบ+ละเอียด
Dystonic
ตรวจจากการสังเกตอาการ
Ataxic
ตรวจร่างกายจากอาการ
ซักประวัติ
ประวัติการตั้งครรภ์
ระหว่างคลอด
ภาวะขาดออกซิเจนขณะคลอด
เด็กคลอดก่อนกำหนด
ภาวะกลุ่มเลือดของมารดาและทารกไม่เท่ากัน
หลังคลอด
อุบัติเหตุที่ทำให้มีอัยตรายต่อสมองเด็ก
การติดเชื้อของเด็ก
ก่อนคลอด
ปัญหาสุขภาพและการติดเชื้อของมารดา
ความผิดปกติของสมองโดยกำเนิด
รกและสายสะดือไม่สมบูรณ์
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
กล้ามเนื้อมัดใหญ่
กล้ามเนื้อมัดเล็ก