Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคและการควบคุมป้องกัน (ธรรมชาติการเกิดโรค (2.Agent เชื้อโรคมีเพิ่มมากขึ้…
โรคและการควบคุมป้องกัน
โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ ได้แก่
โรคไข้หวัดใหญ่ เกิดจาก
เชื้อไวรัสอินฟูเอนซา
โรคไอกรน เกิดจากแบคทีเรีย
Bordetella pertussis
โรควัณโรค เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
Mycodacterium tuberculosis
ธรรมชาติการเกิดโรค
2.Agent เชื้อโรคมีเพิ่มมากขึ้น
3.Environment ฤดูฝนที่มียุงลายเพิ่มขึ้น
1.Host ภูมิคุ้มกันโรคลดลง
พระราชบัญญติโรคติดต่อ
พระราชบัญญติโรคติดต่อ พ.ศ 2523
โรคติดต่ออัตราย
โรคติดต่อ
โรคติดต่อที่ต้องแจ้งความ
ควบคุมโรคติดต่อกับกฎอนามัยระหว่างประเทศ
พระราชบัญญติโรคติดต่อ พ.ศ 2558
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง
โรคติดต่ออันตราย
โรคติดต่อ
โรคระบาด
โรคติดต่อระบบทางเดินอาหาร
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อจุลินทรีย์
เชื้อปรสิต
โรคระบบทางเดินอาหาร
โรคอุจจารระร่วง เกิดจากเชื้อไวรัส
Rotavirus
โรคอาหารเป็นพิษ
โรคอหิวาตกโรค เกิดจากเชื้อ
Vibrio cholerae serogroup O
โรคบิด
โครบิดมีตัวเกิดจากเชื้อ
Shigella
โรคบิดไม่มีตัวเกิดจากเชื้อ
Entamoeba histolytica
โรคไวรัสตับอักเสบบี เกิดจากเชื้อ
ไวรัสตับอักเสบชนิด บี
โรคโปลิโอ เกิดจาดเชื้อ
ไวรัสโปลิโอ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สาเหตุ
เกิดขึ้นจากการติดต่อกันผ่านทางเพศสัมพันธ์ ไม่ว่าจะเป็นการร่วมเพศทางช่องคลอด ทางปาก หรือทวารหนัก
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคซิฟิลิส เกืดจาก
แบคทีเรีย
Treponema pallidum
โรคหนองในเทียมเกิดจาก
เชื้อChlamydia
โรคแผลรินอ่อน เกิดจาก
เชื้อแบคทีเรีย Haemophilus Ducreyi
โรคกามโรคของต่อมและท่อน้ำเหลือง เกิดจาก
เชื้อ Chlamydia Bedsonia trachomatis
โรคเอดส์เกิดจาก
เชื้อไวรัสHuman lmmunodeficiecy vius
โรคหนองใน เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neissria gonorrhoeae
การควบคุมและป้องกัน
1.การป้องกันในระดับปฐมภูมิ (Pimary prervention)
[เป็นการป้องกันในระยะที่ยังม่เกิดโรค
2.การป้องกันในระดับทุติยภูมิ (Secondary prervention)
เป็นการป้องกันโรคเพื่อลดความรุนแรงและแพร่กระจ่ายของโรค
3.การป้องกันในระดับตติยภูมิ (Tertiary prervention)
ช่วยลดภาวะแทรกซ้อนของโรคและฟื้นฟูสุขภาพ
โรคติดเชื้อที่ติดต่อโดยการสัมผัส
การติดต่อ
การคลุกคลี การสัมผัส การกอด จูบ การเล่น การดูแลผู้ป่วย การไอ จาม พูด น้ำลาย เสมหะ
ติดต่อทางอากาศ ติดต่อทางน้ำและ ติดต่อทางอาหาร
ทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคที่พบบ่อย
โรคคางทูม เกิดจากเชื้อ
Mumps vius
โรคหัดเยอรมัน เกิดจากเชื้อ
Rubella
โรคเรื้อน เกิดจากเชื้อ แบคที่เรีย*Mycodacterium leprae
โรคอีสุกอีใส เกิดจากเชื้อไวรัส
Varicella zoster
โรคตาแดง เกิดจากเชื้อ
Adenovius
ควาามหมายและวิทยาการระบาดของโรค
โรคติดต่อ เกิดจากเชื้อโรค
โรคไม่ติดต่อ เกิดจากพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง
โรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ
โรคอุบัติซ้ำ
หมยถึง
โรคติดเชื้อที่เคย แพร่ระบาดในอดีต และสงบไปแล้วเป็นเวลานานหลายปี แต่กลับมาระบาดขึ้นอีก
โรคติดเชื้ออุบัติซ้ำ
วัณโรค ไข้เลือดออก และมาลาเรีย
โรคอุบัติใหม่
หมายถึง
โรคติดเชื้อชนิดใหม่ๆที่มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นในระยะประมาณ 20 ปีที่ผ่านมา
โรคติดเชื้ออุบัติใหม่
โรคเอดส์ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น
โรคติดต่อระหว่างคนกับสัตว์
หมายถึง
โรคติดต่อระหว่างคนและสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังทั้งสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า การติดต่ออาจติดต่อจากสัตว์มายังคน หรือจากคนไปยังสัตว์ก็ได้ การติดต่อนั้นต้องเป็นไปโดยธรรมชาติ
โรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน
โรคฬากโรค เกิดจากเชื้อ
Yersinia pestis
โรคไข้หวัดนก เกิดจากเชื้อ
ไวรัส Avian Lafluenza type A
โรคพิษสุนัขบ้า เกิดจาก ไวรัส
Rabier virus
โรคเลปโตสไปโรซิส เกิดจาก
เชื้อจุลินทรีย์ : Leptospira interrogans
โรคแอนแทรกซ์ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
Bacillus anthracis
โรคติดเชื้อทีี่นำโดยแมลง
การติดเชื้อโดยมีแมลงเป้นพาหะทำให้เกิดโรค ได้แก่
โรคไข้มาลาเลีย เกิดจากเชื้อ ปรสิต สกุล
Plasmodium
โรคไข้เลือดออก ติดต่อจาก ยุงลาย
(Aedes aegyti)
โรคเท้าช้าง เกิดจากหนอนพยาธิ เช่น
Wuchereia bancrofti
เป็นต้น
โรคไข้สมองอักเสบ เกิดจาก
Japanese encephalitis virus
โรคไข้เหลือง อยู่ใน
genus Flavirius