Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
image Lumbar spinal stenosis
(โรคโพรงกระดูกสันหลังตีบแ…
Lumbar spinal stenosis
(โรคโพรงกระดูกสันหลังตีบแคบบริเวณเอว)
หมายถึง
ภาวะที่มีการแคบตัวลงของช่องโพรงกระดูกสันหลัง (spinal canal) , ช่อง lateral recess หรือช่อง neural foramina ภาวะนี้อาจเกิดเฉพาะบางส่วนเพียงระดับเดียวหรือหลายระดับก็ได้ การลดลงของเส้นผ่าศูนย์กลางของช่องโพรงกระดูกสันหลัง (spinal canal) อาจเกิดจากกระดูกหนาตัวขึ้น (Bone hypertrophy) , เอ็นหนาตัวขึ้น (ligamentum flavum hypertrophy) , หมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อน (Disc protrusion) , โรคกระดูกสันหลังเคลื่อน (spondylolisthesis) หรือมีภาวะเหล่าหลายๆอย่างร่วมกัน
อาการและอาการแสดง
ทฤษฎี
อาการที่หลัง
ปวดหลังเรื้อรัง อาการปวดมักอยู่ที่ส่วนกลางของเอวและมักเป็นมากขึ้นในท่ายืน เดิน หรือเมื่อมีการแอ่นหลังไปด้านหลังมากๆ
-
-
สาเหตุ
-
ผู้ป่วย
ผู้ป่วยชายไทยวัยสูงอายุ อายุ 61 ปี ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำการแบกปุ๋ยที่มีขนาดหนักเป็นเวลานาน และมีหมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนกดทับเส้นประสาทที่ L5-S1
การตรวจวินิจฉัย
ทฤษฎี
-
-
CR myelogram เป็นวิธีการฉีดสีเข้าไปในช่องกระดูกสันหลังร่วมกับการตรวจด้วยเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ใช้ไดดีที่ไม่สามารถตรวจ MRI ได้ช่วยในการประเมินความรุนแรงของการตีบแคบ
-
การรักษา
ทฤษฎี
วิธีอนุรักษ์นิยม
การปรับใช้งานและการพักผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการดีขึ้นหลังจากที่ได้พักสามารถเดินไปต่อ ควรหลีกเลี่ยงกิจกรมที่ต้องก้อมเงยและยกของหนัก
-
-
-
-
การผ่าตัด
Decompression laminectomy เป็นการผ่าตัดเพื่อตัดเอาแผ่นกระดูก lamina ในกระดูกสันหลังออกทั้งหมด กระดูก lamina เป็นส่วนนอกของกระดูกที่อยู่บนข้อกระดูกแต่ละส่วนในกระดูกสันหลัง การตัดแผ่นกระดูก lamina ออกจากกระดูกสันหลังจะทำให้เกิดช่องว่าง ซึ่งจะช่วยลดแรงกดบนไขสันหลังหรือเส้นประสาทไขสันหลัง
การผ่าตัดเชื่อกระดูก (fusion) จะพิจารณาในรายที่มีการเสื่อมของกระดูกสันหลังยากมากจนกระดูกสันหลังสูญเสียความมั่นคงหรือในรายที่ผ่าตัดกระดูกที่กดทับเส้นประสาทออกแล้วกระดูกสันหลังสูญเสียความมั่นคง
ผู้ป่วย
ผู้ป่วยได้การผ่าตัด Decompression Laminectomy L5-S1 คือการผ่าตัดเอากระดูก Lamina ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระดูกสันหลังที่กดทับเส้นประสาทออก
ข้อวิจฉัยทางการพยาบาล
- อาจเกิดภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจเนื่องจากระดับความรู้สึกตัวลดลงจากได้รับยาระงับความรู้สึกทั่วร่างกาย
- มีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกบริเวณแผลผ่าตัดเนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับการกระทบกระเทือนจากการผ่าตัด
- วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคที่เป็นอยู่เนื่องจากกลัวไม่หายจากโรคจากการการได้รับการผ่าตัดรอบที่สอง
- ปวดแผลผ่าตัดเนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับการกระทบกระเทือนจากการผ่าตัด
- ปวดเนื่องจากมีกระดูกไขสันหลังกดทับเส้นประสาท
- มีโอกาสเกิดภาวะติดเชื้อเนื่ิงจากมีบาดแผลเปิดสู่ภายนอก