Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด ทฤษฎีทางการศึกษา (Learning Process (การลงมือปฏิบัติ,…
แนวคิด ทฤษฎีทางการศึกษา
ปรัชญา เกิดจากธรรมชาติความอยากรู้อยากเห็นของคนในทุกเรื่อง
ปรัชญการศึกษาเปรียบเสมือเข็มทิศชีวิต
ลักษณะของปรัชญา
รวบรวมรายละเอัยดของโลกและชีวิตไว้ทั้งหมด
พยายามหาคำตอบที่เป็นจริง และอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นได้
มีความเป็นเหตุเป็นผล
เนื้อหามีการเปลี่ยนแปลงตามยุค สมัย ก่อให้เกิดประโยชน์
สาขาของปรัชญา
อภิปรัชญา
ศึกษาเกี่ยวกับความจริง
ญาณวิทยา
ศึกษาความรู้และธรรมชาติของความรู้
คุณวิทยา
ศึกษาคุณค่าและค่านิยม
จริยศาสตร์
หลักของความดี
สุนทรียศาสตร์
คุณค่าความทางศิลปะภายนอก
ปรัชญาการศึกษา
ลัทธิจิตนิยม (Plato)
การศึกษาพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เน้น อักษรศาสตร์และศิลปศาตร์
ลัทธิวัตถุนิยม (Aristotle)
ความจริงที่สามารถพิสูจน์ได้เป็นต้นกำเนิดการศึกษาวิทยาศาสตร์
ลัทธิประสบการณ์นิยม (John Dewey)
ปฏิบัตินิยม เชื่อในสื่งที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน
เชื่อในการลงมือกระทำเพื่อหาความจริงด้วยคำตอบของตนเอง
ลัทธิอัตถิภาวะนิยม
เชื่อในสิ่งที่มีอยู่จริงเท่านั้น
ให้ความสำคัญกับมนุษย์ว่าสำคัญสูงสุด
การเรียนรู้
การเปลี่ยนท้ศนคติ พฤติกรรมเนื่องจากการรับประสบการณ์
เกิดการปรับเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น
การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานเพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้
ความสำคัญของการเรียนรู้
เป็นพื้นฐานของการดำรงชีวิต
มีการเรียนรู้ตั้งแต่เกิดจนตาย
ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น
การเปลี่ยนแปลงจากการเรียนรู้ (Bloom)
Cognitive Domain
เกิดขึ้นในสมอง
Affective Domain
เกิดขึ้นในจิตใจ
Psychomotor Domain
ด้านร่างกายเพื่อให้เกิดทักษะ
องค์สามของการเรียนรู้
ผู้เรียน
วุฒิภาวะและความพร้อม
ความสามารถด้านเชาว์ปัญญา
ความสนใจ
ประสบการณ์
ความบกพร่องทางกาย
บทเรียน
ชนิด
ความยาว
ความยากง่าย
ความหมาย
วิธีเรียน
ทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ
กระบวนการเรียนรู้
การเสริมแรง
การฝึกหัด
การถ่ายโยงความรู้
Learning Process
การลงมือปฏิบัติ
เป็นปัจเจกบุคคล
ได้รับอิทธิพลจากคนในสังคมร่วมกัน
เป็นการตอบสนองต่อสิ่งที่พบ
เป็นกระบวนการต่อเนื่องตลอดชีวิต
ไม่สามารถเปลี่ยนกลับไปมาได้
ต้องใช้เวลา
ไม่สามารถเกิดจากถูกบังคับ
ทฤษฎีการเรียนรู้
เป็นการศึกษากระบวนการที่ทำให้เกิดการเรียนรู้
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
พาฟลอฟ
การเรียนรู้เกิดจากการวางเงื่อนไข
การวางเงื่อนไขด้วยการกระทำ
สกินเนอร์
เน้นการกระทำของผู้ที่เรียนรู้มากกว่าสิ่งที่ผู้สอนกำหนด
การเชื่อมโยง
ธอนไดค์
เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองโดยแสดงในรูปแบบต่างๆ
กฎการเรียนรู้
กฎแห่งความพร้อม
ต้องพร้อมทั้งกายและใจ
กฎแห่งการฝึกหัด
การทำซ้ำทำให้เกิดการเรียนรู้ที่นานและคงทน
กฎแห่งผลที่ได้รับ
ถ้าผลพึงพอใจ ผู้เรียนอยากเรียนรู้ต่อ
:<3:
:<3:
:<3:
:tada:
:smiley: