Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 องค์การและวัฒนธรรมองค์การ (การรักษาวัฒนธรรมให้คงอยู่…
บทที่ 4 องค์การและวัฒนธรรมองค์การ
องค์การคืออะไร (What is Organization)
องค์การทางสังคม ได้แก่ ครอบครัว โรงเรียน มหาวิทยาลัย ศาสนา (วัด) สมาคม สโมสร ชมรม และกลุ่มกิจกรรมต่างๆ
องค์การทางราชการได้แก่หน่วยงานราชการต่างๆ ซึ่งครอบคลุมถึงกระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ ที่เรียกกันว่า ระบบราชการ (Bureaucracy) ซึ่งเป็นองค์การที่มีขนาดใหญ่โตมีโครงสร้างที่สลับซับซ้อนมาก
องค์การเอกชนได้แก่ บริษัท ร้านค้าต่างๆที่ดําเนินกิจกรรมเพื่อประโยชน์ทางการค้า
ลักษณะขององค์การ
1) องค์การเป็นโครงสร้างของความสัมพันธ์
2) องค์การเป็นกลุ่มของบุคคล
3) องค์การเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการ
4) องค์การเป็นกระบวนการของกลุ่มงาน
5) องค์การเป็นระบบอย่างหนึ่ง
เป้าหมายขององค์การ
(Organization Goal) เป้าหมายขององค์การ คือจุดหมายปลายทางที่กําหนดขึ้นเพื่อจัดสรร ทรัพยากรและกิจกรรมต่างๆ ขององค์การให้เอื้ออํานวยประโยชน์ต่อทิศทางสุดท้ายที่กําหนดไว้ในองค์การนั้นๆ
เป็นแนวทางในการปฏิบัติกิจกรรมขององค์การ เพราะในเป้าหมายขององค์การจะมีการระบุสิ่งที่ จะต้องดําเนินการ เพื่อบรรลุเป้าหมาย
เป็นการอํานวยความถูกต้องตามระเบียบแบบแผน หรือกฎหมายเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของ องค์การ
เป็นมาตรฐานที่สมาชิกในองค์การ และคนนอกองค์การสามารถใช้วัดความสําเร็จในการ ดําเนินงานขององค์การนั้น
ทฤษฎีองค์การ (Organization Theory)
ทฤษฎีสมัยดั้งเดิม (Classical Theory)
ทฤษฎีสมัยใหม่ (Neo-Classical Theory)
ทฤษฎีสมัยปัจจุบัน (Modern Theory)
วัฒนธรรมองค์การ
กลุ่มของค่านิยม (set of values)
ค่านิยมขององค์การส่วนใหญ่อยู่ในลักษณะที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร แต่เกิดมาจากข้อสมมุติพื้นฐาน (basic assumption)
การใช้สัญลักษณ์เป็นสื่อบ่งบอกความหมายของค่านิยมที่เป็นวัฒนธรรมขององค์การนั้น
วัฒนธรรมองค์การ หมายถึง กลุ่มของความเชื่อที่ถาวร ซึ่งมีการสื่อความหมายในรูปของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ก่อให้เกิดเป็นความ หมายที่คนในองค์การสามารถเข้าใจได้ตรงกัน
แนวทางการเกิดวัฒนธรรม
สิ่งที่ผู้นําองค์การให้ความสนใจ ติดตาม และควบคุม เน้นย้ําอย่างสม่ําเสมอจะเป็นแบบอย่างให้แก่พนักงานทั้งหลาย เช่น การใส่ใจในการควบคุมคุณภาพของสินค้าและ บริการ การสอบถามในกิจกรรมที่จะเกี่ยวเนื่อง หรือมีผลกระทบต่อคุณภาพและบริการ เป็นต้น
ปฏิกิริยาหรือการตอบสนองต่อเหตุการณ์สําคัญ หรือวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นกับองค์การ จะ กลายเป็นค่านิยมหรือความเชื่อของคนในองค์การได้ เช่น เมื่อกิจการเกิดปัญหา วิกฤตการณ์ทางการเงินอย่างมาก แต่ผู้บริหารก็มีได้เลิกจ้างหรือปลดพนักงาน แต่จะใช้ วิธีการอื่น ๆ ในการลดปัญหาที่เกิด จึงทําให้พนักงานเกิดการรับรู้ว่าผู้บริหารเห็น ความสําคัญของพนักงานและมีการทํางานร่วมกันแบบคนในครอบครัว
สิ่งที่ผู้บริหารกระทําตนเป็นแบบอย่าง สั่งสอน และชี้แนะ เช่น การที่บิลเกตต์ทุ่มเทการ ทํางานอย่างหนักก็จะเป็นแบบอย่างให้พนักงานเชื่อถือ
การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์การ
จากเรื่องเล่า หรือประวัติศาสตร์ขององค์การ (Stories หรือ istories)
จากพิธีการ (Rituals) และพิธีกรรม (Ceremonies)
สัญลักษณ์ต่าง ๆ (Material Symbols)
ภาษาที่ใช้ (Language)
องค์ประกอบของวัฒนธรรมองค์การ
ส่วนที่มองเห็นได้ (Visible) จะเป็นสิ่งที่สมาชิกองค์การสร้างหรือประดิษฐ์ขึ้นมา เช่น สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ (Artifacts) อาทิเช่น รูปปั้นของผู้ก่อตั้งกิจการ และถาวรวัตถุต่าง ๆ เช่น โดมของธรรมศาสตร์ หรือการตบแต่งอาคารสถานที่ ป้าย สัญลักษณ์ คําขวัญ (Slogan) และพิธีกรรมต่างๆ และการแต่งกาย เป็นต้น
ส่วนที่อยู่ลึกลงไป จะมองไม่เห็น (Invisible) แต่เป็นสิ่งที่สมาชิกรับรู้และเข้าใจร่วมกัน เช่น ค่านิยมขององค์การที่สมาชิกรับรู้ เช่น ค่านิยมของ Mcdonald ที่เน้น คุณภาพ บริการความ สะอาด และคุณค่าของสินค้าและบริการ หรือความมุ่งมั่น คุณค่าและความเชื่อของบริษัทหรือ องค์การ
วัฒนธรรมองค์การ
มิติที่ 1
วัฒนธรรมเด่น (Dominant Culture)
วัฒนธรรมย่อย (Subculture)
มิติที่ 2
วัฒนธรรมที่เข้มแข็ง (Strong Culture)
วัฒนธรรมที่อ่อนแอ (Weak Culture)
กรอบความคิตวัฒนธรรมองค์การ
กรอบความคิดของโออูชิ (The Ouchi framework)
ความผูกพันต่อพนักงาน (Commitment to employees)
การประเมินผล (Evaluation)
เส้นทางของอาชีพ (Career path)
การควบคุม (Control)
การตัดสินใจ (Decision-making)
ความรับผิดชอบ (Responsibility)
การดูแลพนักงาน (Concern for people)
กรอบความคิดของปีเตอร์และวอเตอร์แมน (The Peters and Waterman Framework)
ตัดสินใจทำโดยไม่ลังเล (Bias for action)
ให้ความใกล้ชิดกับลูกค้า (Stay close to the customer)
ให้ความอิสระและท าแบบนักประกอบการ (Autonomy and entrepreneaurship)
เชื่อว่าผลงานที่ดีย่อมมาจากคน (Productivity through people)
บริหารแบบไม่ปล่อยมือ (Hands – on management)
เลือกเน้นเฉพาะธุรกิจที่เป็นความถนัดของบริษัท (Stick to the knitting)
มีโครงสร้างอย่างง่ายและใช้บุคลากรน้อยลง (Simple form, lean staff)
มีการจัดการทั้งแบบที่ยืดหยุ่นและแบบที่ตึงตัวพร้อมกันไป (Simultaneously loosely and tightly organized)
ประเภทของวัฒนธรรมองค์การ
วัฒนธรรมแบบปรับตัว (Adaptability Culture)
วัฒนธรรมแบบมุ่งผลสำเร็จ (Achievement Culture)
วัฒนธรรมแบบเครือญาติ (Clan Culture)
วัฒนธรรมแบบราชการ (Bureaucratic Culture)
การรักษาวัฒนธรรมให้คงอยู่
ผู้บริหารระดับสูง (Top Management)
การสรรหาและการคัดเลือก (Recruitment and selection)
กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม (Socialization Process)
การออกแบบโครงสร้าง
ระบบต่าง ๆ ขององค์การ
แนวทางในการจัดสรรรางวัลและสถานภาพ
การออกแบบอาคาร สถานที่ สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ในการท างาน
ภาวะผู้นํากับวัฒนธรรมองค์การ
การรวมวัฒนธรรมองค์การ
การท าให้คล้ายกัน โดยการดูดซึม (Assimilation)
การประสาน (Integration)
การแยกออกจากกัน (Separation)
การลดความส าคัญของวัฒนธรรม (Deculturation)
ปลูกฝังวัฒนธรรมในองค์การ
การสื่อสารจากบนลงล่าง (Downward Communication)
การสื่อสารจากล่างขึ้นบน (Upward Communication)
การสื่อสารในแนวนอน (Lateral Communication / Horizontal Communication)
การสื่อสารในแนวทแยง (Diagonal Communication)
การรณรงค์โดยจัดกิจกรรมเสริมต่าง ๆ