Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Psychosocial ภาวะจิตสังคมในเด็ก (กิจกรรมการเล่นเฉพาะโรค (โรคหัวใจ…
Psychosocial ภาวะจิตสังคมในเด็ก
Common behaviour
6 เดือนแรก เมื่อโกรธจะร้องไห้ เมื่อพอใจจะหัวเราะ และเริ่มกลัวคนแปลกหน้า 6-8 เดือน
1-6 ปี กลัวการแยกจาก Separate anxiety เน้นการให้ครอบครัวมีส่วนร่วม เด็กจะกลัวแบบไม่มีเหตุผล จินตนาการสูง จึงควรหีกเลี่ยงคำว่าตัด และเด็กจะกลัวสุญเสียความเป็นตัวของตัวเอง loss of control การพยาบาลจึงควรให้อิสระ และ flexible เท่าที่จะทำได้ เด็กจะทำดีเพื่อให้ได้รางวัล (Preconventional level) ช่วง4-7 ปี เด็กจะมีความคิดแบบ intuitive taught จะค่อนข้าง fix idea
6-12 ปี เด็กจะมีเพื่อน ชอบแข่งขัน เด็กจะชอบคำชม จึงจะทำดีเพื่อให้ผุ้อื่นชม ( Conventional level) เด็กจะเข้าใจอะไรที่เป็นรูปธรรมมากกว่า การอธิบายจึงต้องมีตัวอย่างประกอบ เมื่อเด็กเจ็บป่วยจะพบปัญหาเรื่อง Loss of Control มาก
พยาบาลจึงควรลดการคุกคามเด็ก ให้อิสระเท่าที่จะทำได้ อธิบายสั้นๆเข้าใจง่าย บอกเหตุผลง่ายๆ เปิดโอกาสให้เด็กแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนกับเด็กวัยเดียวกัน
วัยรุ่น จะห่วงภาพลักษณ์มากขึ้น สนใจเพื่อนต่างเพศ เริ่มมีความลับกับพ่อแม่ เด็กจะเข้าใจมีเหตุผล ที่เป็นนามธรรมมากขึ้น แยกแยะชั่วดีได้ ( Post conventional level)
บทบาทพยาบาลควรเปิดโอกาสให้เด็กระบายความวิตกกังวล ให้มีส่วนร่วมในการพยาบาล ให้กำลังใจ ชื่นชม ให้เพื่อนมาเยี่ยม และให้พูดคุยกับครอบครัว
ภาวะ Separate Anxiety พบมากในเด็กอายุช่วง 1-3 ปี
ระยะประท้วง Protest เด็กจะร้องไห้ต่อต้านการรักษา
บทบาทของพยาบาลจึงควรต้องสร้างสัมพันธภาพกับเด็ก ยิ้ม แสดงความคุ้นเคยก่อนอุ้ม ให้พ่อแม่มีส่วนร่วมมากที่สุด
กิจกรรมการเล่น ในเด็กที่ก้าวร้าว Agrressive ใช้ค้อนพลาสติก ปั้นแป้งโด
ระยะหมดหวัง Despair เด็กอาจมีพฤติกรรมถดถอยเช่น ปัสสาวะรดที่นอน ทานข้าวเองไม่ได้
บทบาทพยาบาลต้องยอมรับในพฤติกรรมนั้นๆ แต่ต้องกระตุ้นให้เด็กช่วยเหลือตัวเองให้ได้
กิจกรรมการเล่นในเด็กที่แยกตัว เล่นจ๊ะเอ๋ เล่นซ่อนหา เล่านิทาน
กิจกรรมการเล่นในเด็กที่ถดถอย เล่นตุ๊กตา
ระยะปฏิเสธ เด็กจะปฏิเสธญาติ พ่อแม่ แต่หันมาทำดีกับพยาบาลแทน
บทบาทของพยาบาลต้องเน้นให้ญาติมาเยี่ยมบ่อยๆ
กิจกรรมการเล่นเฉพาะโรค
โรคหัวใจ ให้เล่นบนเตียง เช่นระบายสี ปั้นแป้งโด เม่เล่นเกมส์ที่ต้องแข่งขัน
โรคเลือด หลีกเลี่ยงของมีคม กีฬาที่ต้องออกแรงมาก กิจกรรมเช่น เล่านิทาน
โรคภูมิแพ้ หลีกเลี่ยงสารที่แพ้ หรือของเล่นที่มีไรฝุ่น
โรคลมชัก หลีกเลี่ยงของเล่นที่แตกง่าย มีคม เลี่ยงการขี่จักรยาน
เด็กพิการแต่กำเนิด ควรใช้ของเล่นที่จับต้องเพื่อช่วยให้เด็กเคลื่อนไหวได้
เด็กตาบอด เล่นของเล่นที่มีเสียง เด็กหูหนวกหลีกเลี่ยงกลอง