Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Meconium Aspiration Syndrome;MAS with Persistent Pulmonary Hypertension…
Meconium Aspiration Syndrome;MAS with Persistent Pulmonary Hypertension of The New Born;PPHN
Meconium Aspiration Syndrome;MAS
พยาธิสรีรภาพ
ทารกในครรภ์มีภาวะขาดออกซิเจน
ตอบสนองโดยการอ้าปากหายใจ(Deep gasping)
การเคลื่อนไหวของลำไส้มากขึ้น(Hyperperistalsis)กล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักหย่อนตัว
ขี้เทาถูกขับออกมาปนกับน้ำคร่ำ
หายใจเอาน้ำคร่ำปนขี้เทาเข้าสู่หลอดลมคอและปอด
ถ้าน้ำคร่ำมีขี้เทาข้นเหนียวจำนวนมาก(Thick Meconium)
เกิดการอุดกั้นหลอดลมใหญ่ๆ
1 more item...
ขี้เทาในน้ำคร่ำมีขนาดเล็ก(Moderate Meconium)
อุดหลอดลมเล็กๆ
2 more items...
ปอดอักเสบ(Chemical Pnuemonitis)
กดการสร้างลดแรงตึงผิว
1 more item...
อาการและอาการแสดง
รุนแรงน้อย
หายใจเร็วระยะสั้นๆ 24-72 ชั่วโมง
ABG มีpH ปกติPaco2 ลดลง
รุนแรงปานกลาง
หายใจลําบากมากขึ้นมีการดึงรั้งของช่องซี่โครง มีรุนแรงสูงสุด 24 ชั่วโมงหลังคลอด
ABG มีPaco2 สูงกว่าปกติ
Metabolic acidosis
รุนแรงมาก
ขาดออกซิเจนรุนแรงมีระบบหายใจล้มเหลว
ภาวะหัวใจวายทันทีหลังคลอดหรือภายใน 2-3 ชั่วโมง หลังคลอด
ABG มีPao2 ต่ำมาก Paco2 ยังไม่ค่อยสูงผิดปกติ แต่จะสูงขึ้นจนเกิดภาวะหายใจล้มเหลวใน 24 ชั่วโมงแรก
ถ้าไม่กลายเป็น PPHN อาการจะดีขึ้นใน 7 วัน แต่ยังคงหายใจเร็วไปจนถึงอายุ 2 สัปดาห์
ผิวหนังแห้งลอก เล็บยาว เล้บและสายสะดือมักจะติดสีเหลืองเขียวของขี้เทา
หายใจลำบาก
หายใจเร็ว
ตัวเขียว
ทรวงอกโป่งออกหรืออกถัง(ฺBarrel Chest)
หน้าอกบุ๋ม
ปีกจมูกบาน
เสียงกลั้นหายใจในระยะหายใจออก
ฟังปอดได้ยินเสียง Rhonchi และ Crepitation
การวินิจฉัย
ประวัติขี้เทาในน้ำคร่ำ
การตรวจพบขี้เทาอยู่ในหลอดลมคอโดยการทํา tracheal suction หรือทางเดินหายใจของทารก
อาการหายใจลําบากที่ไม่ใช่เกิดจากโรคปอดอื่น หน้าอกโป่งมากกว่าปกติ
ภาพรังสีทรวงอกพบลักษณะของปอดอักเสบจากการสูดสําลักขี้เทา(infilltration)
การรักษา
การรักษาด้วยออกซิเจนและใส่ UVC, UAC
การรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การใช้continuous positive airway pressure (CPAP)
การใช้ High frequency ventilation
ให้ยาปฏิชีวนะทุกรายหลังเจาะ H/C แล้วหยุดให้เมื่อผลเป็นลบ
การหายใจด้วยก๊าซไนตริกออกไซด์(Inhaled nitric oxide; INO)
ECMO (Extracorporeal membrane oxygenation)
การรักษาด้วยสารลดแรงตึงผิว
ภาวะหายใจลําบากเนื่องจากสําลักน้ําคร่่ำที่มีขี้เทาปนเปื้อนเข้าไปในทางเดินหายใจ
อายุครรภ์น้อยกว่า 38 สัปดาห์
อายุครรภ์เกินกําหนด
Persistent Pulmonary Hypertension of The New Born;PPHN
เป็นภาวะที่เกิดเนื่องจากทารกมีความต้านทานของหลอดเลือดปอดยังคงสูงอยู่หลังเกิด ทารกแรกเกิดมีอาการเขียวเนื่องจากมีการลัดเลือดจากหัวใจ ข้างขวาไปซ้ายผ่าน ductus arteriosus และ foramen ovale ซึ่งยังเปิดอยู่เหมือนตอนอยู่ในครรภ์โดยไม่มีความพิการของหัวใจ
ชนิดของ PPHN
Primary PPHN
แสดงอาการทันทีหลังเกิดเขียวและ Hypoxemia
Secondary PPHN
เกิดขึ้นเป็นผลจากมีโรคปอดเกิด pulmonary vasoconstriction,metabolic acidosis ตามมา
สาเหตุ
ความผิดปกติทางเมตาบอลิก
กล้ามเนื้อหัวใจทำงานผิดปกติจากภาวะขาดออกซิเจน กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
ภาวะติดเชื้อทั้งจากแบคทีเรียและไวรัส
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
ความผิดปกติในการพัฒนาของปอด ทำให้หลอดเลือดในปอดมีปริมาณลดลงเช่น Congenital pulmonary hypoplasia, ภาวะไส้เลื่อนย่อนกระบังลม (diaphragmatic hernia)
โรคของปอดเช่น RDS, pneumonia, MAS
ภาวะขาดออกซิเจนตั้งแต่ในครรภ์หรือช่วงปริกำเนิด
พยาธิสรีรภาพ
เมื่อทารกเริ่มหายใจระดับออกซิเจนที่สูงขึ้น
แรงต้านที่ปอดลดลงเลือดไปปอดมากขึ้น ระดับออกซิเจนสูง
ทำให้ PDA หดตัวและปิดและเมื่อตัดสายสะดือ systemic circulation จะถูกตัดออกจากรกที่มีความต้านทานต่ำความดันโลหิตสูงขึ้นทันที
ทำให้ความดันในหัวใจห้องขวาลดลงด้วย ทำให้การไหลลัดของเลือดจากขวาไปซ้ายน้อยลง
ทำให้ FO และ DA ปิดไปเองถ้าทารกไม่หายใจหรือขาดออกซิเจนจะไม่มีการปิดของ FO และ DA แรงดันในปอดยังสูง
บางครั้งสูงกว่าเลือดจะไหลลัดผ่าน foramen ovale และ ductus arteriosas ซึ่งมีแรงดันน้อยกว่าปอดทำให้ขาดออกซิเจนรุนแรง และ acidosis ซึ่งเดิมเรียกว่า persistent fetal circulation
อาการและอาการแสดง
เขียว (cyanosis) จะรุนแรง ถ้าถูกรบกวนหรือเมื่อร้อง
บางรายพบ murmur
อาจพบการติดเชื้อ, hypothermia, Polycythemia หรือ Hypoglycemia ร่วมด้วย
การวินิจฉัย
Hyperoxia test
Hyperoxia-hyperventilation test
เปรียบเทียบ Preductal และPostductal oxygenation
Echocardiography
การรักษา
การรักษาแบบประคับประคองตามสาเหตุ
การรักษาภาวะขาดออกซิจน
การรักษาด้วยสารที่ทำให้หลอดเลือดคลายตัว(treatment with Vasodilators) INO, Tolazoline, Mgso4 หรือสารลดแรงตึงผิว
ECMO