Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิจัยเชิงคุณภาพ (ที่มา (ปรากฏการณ์นิยม Phenomenalismหรือ ตีความนิยม…
การวิจัยเชิงคุณภาพ
ที่มา
ปรากฏการณ์นิยม Phenomenalismหรือ ตีความนิยม Inpretivism
ความขึ้นมีหลากหลายตามมุมมองของบุคคล
นักวิจัยทำความเข้าใจที่มาของพฤติกรรมของแต่ละคน
มองภาพรวมในลักษณะลึกซึ้ง
ความเชื่อพื้นฐานว่าสังคมสร้างขึ้นตามความนึกคิดของมนุษย์
ใกล้ชิดแหล่งข้อมูลเพื่อความน่าเชื่อถือ
ขั้นตอนการวิจัยเชิงคุณภาพ
เก็บข้อมูล
สัมภาษณ์ สนทนา
สังเกต
เอกสาร
ปรับปรุง
ตั้งสมมติฐาน
สมติฐานชั่วคราว
ปัญหาวิจัย
วิเคราะห์และแปรผล
ลดทอนขนาดข้อมูล
จัดให้เป็นระบบ
สรุป
วางแผน
เลือกพื้นที่
กำหนดเวลา
ปัญหาชั่วคราว
ตัวแปรที่ศึกษา
เขียนรายงาน
ยุทธวิธีเข้าสู่สนาม
เปิดเผย
ไม่เปิดเผย
สร้างสัมพันธภาพ
เลือกสนาม
การจากสนาม
เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล
ด้านข้อมูล
เวลา
สถานที่
บุคคล
ด้านวิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
สัมภาษณ์
ศึกษาเอกสาร
ด้านการวิเคราะห์ข้อมูล
คุณลักษณะของการวิจัย
เชิงคุณภาพ
มีความเฉพาะในบริบท
สังเกตแบบมีส่วนร่วม
มองภาพรวม
เขียนบรรยายและตีความ
เข้าใจปรากฏการณ์ทางสังคม
เชิงปริมาณ
อิสระจากบริบท เน้นการอ้างอิงประชากร
นักวิจัยอยู่เหนือสิ่งวิจัย
ควบคุม ทำนายผล หาความสัมพันธ์ของตัวแปร
ใช้การวิเคราะห์ทางสถิติ
มองทีตัวแปรทีละตัว อย่างเป็นเหตุเป็นผล
กระบวนการวิจัย
อุปนัย
คุณภาพ
เก็บข้อมูล
ตรวจสอบ
วิเคราะห์
ค้นหารูปแบบ ทฤษฎี
พัฒนา เปรียบเทียบ
นิรนัย
ปริมาณ
ทดสอบทฤษฎี
ทดสอบสมมติฐาน
ปรับตัวแปร
วัดตัวแปร