Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Intraventicular hemorrhage (การรักษา (รักษาโดยการผ่าตัด (Burr hole,…
Intraventicular hemorrhage
สาเหตุ
ภาวะเลือดออกในโพรงสมองปฐมภูมิ
เกิดจากการกระทบกระเทือนรุนแรงต่อโพรงสมองโดยตรง
อุบัติเหตุรุนแรงที่ศีรษะ
จากหลอดเลือดในโพรงสมองผิดปกติ เช่น โรคหลอดเลือดสมองเอวีเอ็ม, หรือ จากเนื้องอกของเนื้อเยื่อในโพรงสมองที่เรียกว่าคอลลอยด์เพล็กซัส (Choroid plexus: เป็นเนื้อเยื่อมีหน้าที่สร้างน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง)
ทั้งนี้พบภาวะเลือดออกในโพรงสมองปฐมภูมิได้ประมาณ 30% ของเลือดออกในโพรงสมองทั้งหมด
ภาวะเลือดออกในโพรงสมองทุติยภูมิ
เกิดจากการแตกของหลอดเลือดในเนื้อสมองก่อน
เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง แล้วไหลเข้าสู่โพรงสมองในภายหลัง
เลือดออกในเนื้อสมองจากโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ไม่ดี
พบได้ประมาณ 70% ของเลือดออกในโพรงสมองทั้งหมด
ภาวะเลือดออกในโพรงสมอง คือ ภาวะที่มีเลือดออกในกะโหลกศีรษะ ในเนื้อสมองส่วนที่เป็นโพรงสมอง (Ventricle) เป็นที่อยู่ของน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง (Cerebro spinal fluid: CSF) โดยเลือดที่ออกในโพรงสมองนั้น อาจเกิดจากเลือดที่ออกโดยตรงในโพรงสมองหรือเลือดออกในโพรงสมองปฐมภูมิ (Primary intraventricular hemorrhage) หรือเกิดจากเลือดออกภายในเนื้อสมองก่อน แล้วแตกทะลุเข้าสู่โพรงสมอง/เลือดออกในโพรงสมองทุติยภูมิ(Secondary intraventricular hemorrhage) ซึ่งทั้ง 2 กรณี จะส่งผลให้การไหลเวียนของ CSF ถูกอุดกั้น ส่งผลเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น (Increased intracranial pressure: ICP) จึงมีอาการผิดปกติต่างๆทางระบบประสาท
อาการ
ขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่เกิด แต่อาการที่เด่นชัดคือ
ปวดหัวรุนแรงขึ้นมาเฉียบพลัน
มีอาการชัก โดยไม่เคยมีประวัติโรคลมชักมาก่อน
แขนหรือขาอ่อนแรงเฉียบพลัน
หมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง มีการตื่นตัวน้อยลง ซึมลง :<3:
คลื่นไส้หรืออาเจียนอย่างรุนแรง กลืนลำบาก ลิ้นรับรสชาติผิดแปลกไปจากปกติ :<3:
ตาพร่ามัว การตอบสนองของรูม่านตาไม่เท่ากันหรือตอบสนองช้า
พูดสื่อสารไม่รู้เรื่องหรือไม่เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูด มีปัญหาในการเขียนหรืออ่านหนังสือ การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อมัดเล็กมีปัญหา เช่น มีอาการมือสั่น :<3:
เวียนศีรษะ ความดันโลหิตสูง มีอาการปวดคล้ายเข็มทิ่ม : :<3:
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ประวัติอาการผิดปกติดัง กล่าวข้างต้นในหัวข้อ อาการ ประวัติโรคประจำตัว ประวัติการใช้ยาต่างๆ
ตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป ประเมินระบบประสาท
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ/ตรวจพิเศษ
CT brain
การรักษา
ช่วยเหลือในเรื่องการหายใจ โดยการใส่ET-tube bird
รักษาโดยการใช้ยา
observe อาการ
รักษาโดยการผ่าตัด
Burr hole
Craniotomy
Craniectomy
พยาธิสรีรภาพ
เมื่ออายุมากขึ้น รวมทั้งมีภาวะความดันโลหิตสูงที่ไม่รับการรักษาต่อเนื่องทำหลอดเลือดแข็งและความดันในหลอดเลือดสูงขึ้น หลอดเลือดเปราะบางลง เมื่อเกิดภาวะเครียดหรือสิ่งที่กระตุ้นให้เกิดความดันในกระโหลกศีรษะสูงซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของการทำให้หลอดเลือในสมองแตกซึ่งผู้ป่วยมีภาวะ Basal ganglia (มักจะพบในตําแหน่ง lateral ganglionic region เช่น globus pallidus, putamen และ external capsule) ในตําแหน่งนี้พบได้มากกว่าร้อยละ 80 ของผู้เสียชีวิต และมีเลือดออกในโพรงสมอง :<3: