Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
งานเภสัชกรรมคลินิก มีนาคม 2561 (จำนวน Pt ที่มารับบริการ มี.ค.61 (HT = 1510…
งานเภสัชกรรมคลินิก มีนาคม 2561
จำนวน Pt ที่มารับบริการ มี.ค.61
HT = 1510 ราย
COPD = 154 ราย
CKD = 334 ราย
TB = 70 ราย
DM = 1533 ราย
ผลงาน Drug counselling DM HT = 60 ราย
non-compliance = 14 ราย
ลืมรับประทานยามื้อเช้า จาก ไม่รับประทานม้อเช้าหลัก / รับประทานข้าวเช้าสาย = 2 ราย
หยุดรับประทาน จาก กลัว Side effect = 1 ราย
หยุดรับประทาน จาก ไม่เข้าใจ = 1 ราย
ไม่รับระทานยา จาก กลัวไตเสื่อม = 1 ราย
ขาดนัด ขาดยา = 1 ราย
ลืมฉีด INSULIN มื้อเย็นกลับบ้านดึก = 2 ราย
ไม่รับประทานยา จาก ไม่มีอาการ = 1 ราย
ลืมรับประทานยามื้อกลางวัน จาก รับประทานข้าวไม่ตรงเวลารับประทานข้าวเช้าสาย = 3 ราย
ADR /side effect = 36 ราย
peripheral edema จาก amlodipine = 5 ราย
ไอจาก Enalapril = 7 ราย
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจาก Simvastatin = 5 ราย
Palpitation จาก Propranolol = 1 ราย
ไอ จาก Amlodipine = 2 ราย
Palpitation จาก Simvastatin = 1 ราย
Dizziness จาก Amlodipine = 1 ราย
ไม่ใช่ Side effect จาก ยา = 6 ราย
ไอจาก Losartan = 2 ราย
Palpitation จาก Atorvastatin = 1 ราย
N/V GI discomfort จาก Metformin = 2 ราย
Dizziness จาก Metformin = 1 ราย
Dizziness จาก Simvastatin = 1 ราย
Face/eyelid oedema จาก Amlodipine = 1 ราย
Drug interaction ระหว่าง Fenofibrate กับ Simvastatin = 1 ราย
DM
New insulin /ทบทวนฉีด insulin
New = 3 ราย
ทบทวนฉีด INSULIN = 8 ราย
%ฉีดถูกต้อง = 87.50%(7 จาก 8 ราย)
ไม่คลึงยาก่อนฉีด
ไม่เปลี่ยนเข็ม insulin pen
เปลี่ยนยาฉีด insulin pen ไม่ได้
HHC หาผู้ดูแลใกล้บ้าน
เก็บ INSULIN ไม่่ถูกต้อง = 37.50%(3 จาก 8 ราย)
ระบบเติมยาที่รพสต.เริ่มดำเนินการ 22 ม.ค.61
กำหนดกลุ่มยาที่กำหนด 6 รายการ 1. Amlodipine 5 mg tab. 2. Amlodipne 10 mg tab.3. Metformin 500 mg tab. 4.Simvastatin 20 mg tab. 5. Gemfibrozil 300 mg cap. 6. Omeprazole 20 mg cap. แบ่งยาครึ่ง จากนัด 70 - 90 วัน ส่งรับยาที่รพสต.อีกครึ่ง
ปัญหาอุปสรรคดำเนินการ
ผู้ป่วย ญาติ
ไปรับยาที่รพสต.ก่อนยาใกล้หมด
ระบุวันที่รับยาในใบสั่งยา
ไม่ขอรับยาที่รพสต. สะดวกรับที่รพ.เกาะคา/ไม่อาศัยบ้านพักตามที่อยู่ตามเขตรพสต.
ขาดยาไม่สะดวกไปรับยาที่รพสต.
ไม่รับยาตามที่แจ้งไว้ในใบสั่งยา จัดยาไว้ที่รพ.ไปรับที่รพสต.
รายการยา
รายการยานอกเหนือจาก 6 รายการที่กำหนดระบบเติมยา จ่ายเต็มตามนัดจำนวน 70 - 90 วัน ส่งผลให้มูลค่าการจัดซื้อยา รายการยาที่ไม่ใช่ 6 รายการที่กำหนดเพิ่มขึ้น
3.จนท.
เพิ่มภาระงาน ในการทำข้อมูลเตรียมยาให้รพสต.ทุก 2 สัปดาห์ จากใบสั่งยาที่เก็บไว้เพื่อจัดยาตาม จำนวนผู้ป่วย จำนวนรายการยาที่ส่งไปรับที่รพสต.
เพิ่มระยะเวลารอคอยในการรับยาจากต้องอธิบายรายที่รับยาที่รพสต.เพิ่มเติม
พบความคลาดเคลื่อนข้อมูลในการจัดยาส่งต่อให้ต่อระบบรพสต.
สื่อสารไม่ครบถ้วน ผู้ป่วยไม่เข้าใจ
ระบบขนส่งยาไปที่รพสต.
เพิ่มความถี่การขนส่งยาทุกรพสต.ทุก 2 สัปดาห์
ไม่มีรถไปส่งที่รพสต.
ประสานงานยานพาหนะ ขอเพิ่มแผนการใช้รถ
5.วัสดุ อุปกรณ์
จำนวนใบสั่งยาที่เพิ่มเป็น 3 ใบต่อ 1 รายที่ทำระบบเติมยา 1.จ่ายยา/ชำระเงิน 2.ให้ผู้ป่วย/ญาตินำไปติดต่อรพสต. 3.เก็บไว้ทำข้อมูลเพื่อจัดส่งยาให้รพสต. พร้อมยา
จำนวน sticker ที่เพิ่มขึ้นในรายการที่เติมยาที่รพสต.ต้องพิมพ์เพิ่มอีก 1 ชุด
ผลการดำเนินงาน 22 ม.ค.- 31 มี.ค.61
จำนวนผู้ป่วยที่เติมยาที่รพสต.และ รพ.เกาะคาจำนวน = 834 ราย
มูลค่ายาที่เติมยาที่รพสต.และ รพ.เกาะคา = 47,746 บาท เฉลี่ย ประมาณ 20,000 บาท/เดือน
COPD
จำนวนผู้ป่วยใช้ยาพ่น ณ.31 มี.ค.61 = 375 ราย
ติตตามประเมินพ่นยา = 31.20%(117/258 ราย)
นอกเขตอำเภอเกาะคา
pt เสียชีวิต
ไม่ได้ส่งพบเภสัชกรประเมินพ่นยา
ประสาน DISEASE MANAGER ส่งพบเภสัชกรประเมินพ่นยาทุกราย
ไม่ค่อยใช้ยาพ่น ใช้ไม่ต่อเนื่อง
ยาพ่นที่ผู้ป่วย COPD ได้รับ
Add Seretide accuhaler = 88 ราย
Add Seretide evohaler = 24 ราย
Berodual MDI = 367 ราย
Add Budesonide MDI = 151 ราย
Salbutamol MDI = 3 ราย
ปัญหาด้านยา DRPs
ADR/Side effect
Budesonide (Aeronide) MDI
เชื้อราในช่องปาก
เสียงแหบ
สำลัก
ร้อนคอ
ไอ
Seretide accuhaler/evohaler
เชื้อราในช่องปาก
ไอ
ปัญหาด้านอื่นๆ
ใช้ยาพ่น Budesonide MDI หรือ Seretide accuhale แทน ฺBerodual MDI กรณีหมด
ใช้ยา Aeronide prn
ใช้ยาพ่นสลับกัน Berodual MDI , Budesonide MDI
เครื่องพ่นมีฝุ่นมากไม่ล้างทำความสะอาด
ประเมินพ่นยาถูกต้อง = 86.05% (222/258 ราย)
ปัญหาจากเทคนิคการใช้ยาพ่น
ไม่เป่าลมออกก่อนพ่น
กลั้นไม่นาน , รีบเอา Spacer ออก
กดติดกันหลายครั้ง
จำนวนผู้ป่วย COPD ที่ใช้ยาพ่น AE = 38.13% (151/375ราย)
ได้รับ LABA(Seretide) = 54.97%(83/151)
ได้รับ SABA(Budesonide) = 31.79%(48/151)
ไม่ได้รับทั้ง SABA(Budesonide) &LABA(Seretide) = 13.25%(20/151)
TB
NEW TB = 5 ราย
ติดตาม ADR/Side effect ทุกราย
ปรึกษาแพทย์ปรับยาตาม BW , ClCr ทุกราย
รายเก่า TB ทียังรักษาติดตาม ADR = 32 ราย
ติดตาม ADR/Side effect
Drug induce skin rash = 2 ราย
Gynecomastia = 1 ราย
ปรึกษาแพทย์ปรับยาตาม BW , ClCr = 2 ราย
Contact TB = 9 ราย
เตรียม INH syrup 20 mg/ml ทุก 2 สัปดาห์ = 1 ราย
ทบทวนสูตรยาที่ใช้รักษาวัณโรค ขนาดยา ตาม BW , ClCr การrechallenge Anti-TB drugs กรณี Drug induce hepatitis /Drug induce cutaneous reaction อ้างอิงตาม Chest med รพ.ลำปางแจ้งแพทย์
WARFARIN
บริการเภสัชกรรมบริบาล OPD + IPD = 140 ครั้ง
INR intarget = 46.09%( 59/128
INR < target = 21.09%( 27/128)
ไม่ได้ตรวจเลือดดูผล INR = 4 ราย
INR > target = 32.81%( 42/128)
drug counsellingรายใหม่ = 1 ราย
ติดตาม ADR/Side effect
เกิดจ้ำเลือด = 1 ราย
Active bleeding = 2 ราย
non-compliance = 7 ราย
ขาดยา = 2 ราย
รับประทานยาผิด/ปรับยาเอง = 1 ราย
รับประทานอาหารเสริม/อาหารเสริม = 2 ราย
รับประทานยา NSAIDs /ฉ๊ดยา NSAIDs = 2 ราย
ADR
สัมภาษณ์ประวัติแพ้ยาเดิม = 30 ราย
ติตตามเฝ้าระวังการใช้ยา = 5
ติดตาม SIDE EFFECT = 15 ราย
ติดตามออกบัตรเฝ้าระวังแพ้ยารุนแรง TEN/SVS จาก Allopurinol , Phenytoin = 12 ราย
แพ้ยารายใหม่ = 6 ราย
TRAMADOL CAP แบบ RASH
IBUPROFEN แบบ หนังตาบวม จมูกบวม
IBUPROFEN RASH
CLINDAMYCIN แบบ RASH
CIPROFLOXACIN แบบ RASH
ALLOPURINOL แบบ RASH