Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:star:วัฒนธรรมไทย :star: 1857da763b040e0 (ลักษณะของวัฒนธรรมไทย…
:star:
วัฒนธรรมไทย
:star:
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัฒธรรมไทย
วัฒนธรรม
แบบอย่างหรือวิถีการดำเนินชีวิตของชุมชนแต่ละกลุ่ม เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมการอยู่ร่วมกันอย่างปกติสุขในสังคม
ขึ้นอยู่กับปัจจัยทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรต่างๆ
เป็นการสั่งสมความคิด ความเชื่อ วิธีการ จากสังคมรุ่นก่อนๆ มีการเรียนรู้ และสามารถถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อๆ ไปได้
ความสำคัญของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมช่วยสร้างระเบียบให้กับสังคม
วัฒนธรรมช่วยให้เกิดความสามัคคี
วัฒนธรรมช่วยให้เกิดความสามัคคี
วัฒนธรรมช่วยให้ประเทศชาติเจริญก้าวหน้า
วัฒนธรรมเป็นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชาติ
วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหา
ประเภทของวัฒนธรรม
คติธรรม
วัตถุธรรม
เนติธรรม
สหธรรม
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลาง
วัฒนธรรมด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อ
เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา ที่มีความเชื่อมโยงกับประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อ และการดำเนินชีวิต
การบูชารอยพระพุทธบาท
ประเพณีรับบัวโยนบัว
วัฒนธรรมด้านอาหาร
มีความหลากหลายในการปรุง การตกแต่งอาหาร โดยรสชาติจะมีรส เค็ม เผ็ด เปรี้ยว หวาน เคล้ากันไปตามชนิดของอาหาร
ห่อหมก
น้ำพริกปลาทู
แกงส้ม
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ
วัฒนธรรมด้านอาหาร
รสชาติไม่จัด ไม่นิยมใส่น้ำตาลในอาหาร
ความหวานจะได้จากส่วนผสมของอาหารนั้นๆ
แกงแค
น้ำพริกหนุ่ม
แกงฮังเล
วัฒนธรรมด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อ
ยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณีของพระพุทธศาสนา
งานบุญตานก๋วยสลาก
งานประเพณีสืบชะตา
การทำบุญทอดผ้าป่าแถว
ลักษณะของวัฒนธรรมไทย
เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
ยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณี
ใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร
การนับถือผู้อาวุโส
เป็นวัฒนธรรมเกษตรกรรม
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
วัฒนธรรมด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อ
มีเอกลักษณ์บนพื้นฐานประวัติศาสตร์อันยาวนาน มีความเกี่ยวข้องกับแนวคิด ความศรัทธา และความเชื่อที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา
บุญบั้งไฟ
การแห่ผีตาโขน
วัฒนธรรมด้านอาหาร
มีรสจัด มีผักเป็นส่วนประกอบหลัก อาหารจะมีลักษณะแห้ง ข้น หรือมีน้ำขลุกขลิก ไม่นิยมใส่กะทิ
ลาบ
ส้มตำ
แกงหน่อไม้
วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้
วัฒนธรรมด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อ
ประเพณีตักบาตรธูปเทียน
ประเพณีชักพระ
วัฒนธรรมด้านอาหาร
แกงไตปลา
ข้าวยำ
แกงเหลือง
ความแตกต่างระหว่าง วัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล
ปรัชญากับธรรมชาติ
วัฒนธรรมไทยเน้นปรัชญา “มนุษย์สอดคล้องกับธรรมชาติ”
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับธรรมชาติ
ดังนั้น คนไทยจึงนิยมสร้างวัฒนธรรมให้กลมกลืนกับธรรมชาติ
วัฒนธรรมสากลเน้นปรัชญา “มนุษย์เป็นนายธรรมชาติ”
เพื่อสร้างความสะดวกสบายให้แก่มนุษย์
สามารถบังคับธรรมชาติให้ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้ทั้งหมด จนนำไปสู่การประดิษฐ์คิดค้นวัตถุและเทคโนโลยีที่ทันสมัย
โลกทัศน์
วัฒนธรรมไทยมองโลกแบบองค์รวม
ทุกสิ่งหลอมรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ โดยองค์ประกอบทั้งหลายมีความสมดุล ช่วยจรรโลงโลกให้มีความน่าอยู่
วัฒนธรรมสากลมองทุกสิ่งเป็น 2 ส่วนเสมอ
มีความพยายามที่จะปรับเปลี่ยนสิ่งที่ล้าสมัยให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
วัฒนธรรมไทยเน้นความคิดความเชื่อตามหลักธรรมทางศาสนา ยึดมั่นในความจริงควบคู่ไปกับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
วัฒนธรรมสากลเน้นทฤษฎีและการพิสูจน์บนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ มีการตั้งสมมติฐาน วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่เป็นเหตุเป็นผล
แนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์และถ่ายทอดวัฒนธรรมไทย
ส่งเสริมให้ชนทุกกลุ่มเห็นคุณค่า
ขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมทางวัฒนธรรม
ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม
สร้างทัศนคติ ความรู้ ความเข้าใจ
ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักใช้สิทธิและหน้าที่
จัดทำระบบเครือข่ายสารสนเทศทางวัฒนธรรม
การเลือกรับวัฒนธรรมสากล
วัฒนธรรมสากลต้องสามารถผสมผสานเข้ากับโครงสร้างทางสังคม ค่านิยม และขนบธรรมเนียมประเพณีไทยได้
วัฒนธรรมสากลต้องมีส่วนเกื้อหนุนให้วัฒนธรรมไทยเกิดความก้าวหน้า
วัฒนธรรมสากลต้องสามารถอยู่ร่วมกับวัฒนธรรมไทยได้