Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม (constructivism) (หลักการเรียนรู้ของกลุ่มเก…
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม (constructivism)
หลักการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์
การหยั่งเห็น (Insight)
การเกิดความคิดแวบขึ้นมาทันทีทันใด ในขณะที่ประสบปัญหาโดยมองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหาตั้งแต่เริ่มแรกเป็นขั้นตอนจนสามารถแก้ปัญหาได้เป็นการมองเห็นสถานการณ์ในแนวทางใหม่ ๆ
การรับรู้ (Perception)หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนัง และการตีความนี้ มักอาศัย ประสบการณ์เดิมดังนั้น แต่ละคน)
นำหลักการทฤษฎีกลุ่มความรู้ ความเข้าใจ
ไปประยุกต์ใช้
1.ครูควรสร้างบรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง และมีอิสระที่จะให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ทั้งที่ถูกและผิด เพื่อให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของข้อมูล และเกิดการหยั่งเห็น
เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายในชั้นเรียน
3.คำนึงถึงเจตคติและความรู้สึกของผู้เรียนพยายามจัดกิจกรรมที่กระตุ้นความสนใจ
ของผู้เรียนมีเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ผู้เรียนนำไปใช้ประโยชน์ได้และควรจัดโอกาสให้
ผู้เรียนรู้สึกประสบความสำเร็จด้วย
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูนเนอร์ (Bruner)
บรูนเนอร์ได้ให้หลักการเกี่ยวกับการสอน คือ
2) เน้นความสำคัญของผู้เรียน ถือว่าผู้เรียนจะสามารถควบคุมกิจกรรมการเรียนรู้ของตนเองได้ (SelfRegulation) และเป็นผู้ที่จะริเริ่มลงมือกระทำ ผู้สอนมีหน้าที่จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้โดยการค้นพบ ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
1) กระบวนการความคิดของเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่ ผู้สอนควรมีความเข้าใจกระบวนการคิดของผู้เรียนแต่ละวัย
3) ในการสอนควรเริ่มจากประสบการณ์ที่ผู้เรียนคุ้นเคย หรือประสบการณ์ใกล้ตัว ไปหาประสบการณ์ไกลตัว
ขั้นพัฒนาการที่บรูนเนอร์เสนอมี 3 ขั้น คือ
1) เอ็นแอคทีป (Enactive Mode) เป็นวิธีที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมโดยการสัมผัสจับต้องด้วยมือหรืออวัยวะของร่างกาย
3) ซิมโบลิค (Symbolic Mode) เป็นวิธีที่ผู้เรียนใช้สัญลักษณ์เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ สามารถเข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรม หรือความคิดรวบยอดที่ซับซ้อน จึงสามารถที่จะสร้างสมมติฐาน และพิสูจน์สมมติฐานได้
2) ไอคอนนิค (Iconic Mode) เป็นวิธีที่ผู้เรียนสร้างจินตนาการ หรือสร้างมโนภาพ(Imagery) ขึ้นในใจได้โดยใช้รูปภาพแทนของจริงโดยไม่จำเป็นต้องสัมผัสของจริง
ทฤษฏีการเรียนรู้ของออซูเบล(David p. Ausubel)
ออซูเบล แบ่งการเรียนรู้ออกเป็น 4 ประเภท ดังต่อไปนี้
3.การเรียนรู้โดยการค้นพบอย่างมีความหมาย (Meaningful Discovery Learning
การเรียนรู้โดยการรับแบบท่องจำโดยไม่คิดหรือแบบนกแก้วนกขุนทอง (Rote Reception Learning)
การเรียนรู้โดยการค้นพบแบบท่องจำโดยไม่คิดหรือแบบนกแก้วนกขุนทอง (Rote Discovery Learning
การเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย (Meaningful Reception Learning)
แนวทางการสอนที่ได้จากทฤษฎีนี้
ใช้เทคนิคการสอนแบบ Advance Organizer คือเป็นวิธีการสร้างการเชื่อมช่องว่างระหว่างความรู้ที่ผู้เรียนได้รู้แล้ว (ความรู้เดิม) กับความรู้ใหม่ที่ได้รับ ที่จำเป็นจะต้อง เรียนรู้เพื่อผู้เรียนจะได้มีความเข้าใจเนื้อหาใหม่ได้ดีและจดจำได้ดีขึ้น
นำเสนอกรอบ หลักการกว้างๆ ก่อนที่จะให้เรียนรู้ในเรื่องใหม่
การจัด เรียบเรียง ข้อมูลข่าวสารที่ต้องการให้เรียนรู้ ออกเป็นหมวดหมู่
แบ่งบทเรียนเป็นหัวข้อที่สำคัญ และบอกให้ทราบเกี่ยวกับหัวข้อสำคัญที่เป็นความคิดรวบยอดใหม่ที่จะต้องเรียน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
แบ่งเด็กออกเป็น 3 กลุ่ม
เด็กกลุ่มที่สองมีตัวแบบที่ไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว
เด็กกลุ่มที่สามไม่มีตัวแบบแสดงพฤติกรรมให้ดูเป็นตัวอย่าง
กลุ่มหนึ่งให้เห็นตัวอย่างจากตัวแบบที่มีชีวิต แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว
การนำทฤษฎีมาประยุกต์ในการเรียนการสอน
แสดงตัวอย่างของการกระทำหลายๆอย่าง
ให้คำอธิบายควบคู่กันไปกับการให้ตัวอย่างแต่ละอย่าง
บ่งชี้วัตถุประสงค์ที่จะให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมหรือเขียนวัตถุประสงค์เป็นเชิงพฤติกรรม
ชี้แจงขั้นตอนของการเรียนรู้โดยการสังเกตแก่นักเรียน
ให้เสริมแรงแก่นักเรียนที่สามารถเลียนแบบได้อย่างถูกต้อง
จัดเวลาให้นักเรียนมีโอกาสที่แสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบ