Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยบ.Pt.ปห.หัวใจ (โรคหัวใจแต่กำเนิด (ชนิดเขียว (1. Tetralogy of fallot …
การพยบ.Pt.ปห.หัวใจ
โรคหัวใจแต่กำเนิด
ชนิดเขียว
1. Tetralogy of fallot
(TOF)
ค.บกพร่อง 4 อย่าง
1. Pulmonic sternosis
การอุดกั้นทางออกของ ventricle ขวา
จากการหนาตัวของเนื้อเยื่อ
infundibulum
PS รุนแรงน้อย -> เลือดไป RV -> ปอด^ ->
เลือดกลับเข้า LA & LV -> aortic ^^ ->
คขข.O2 ลดลงเล็กน้อย -> Pt. ไม่แสดงอาการ
เขียวทั้งตัว (Pink TOF)
PS ขนาดใหญ่ -> เลือดดำไปปอดลดลง ->
เลือดเข้า aorta^ -> คขข.O2 ลดลง ->
Pt.เขียวทั้งตัว (Central cyanosis)
2. Ventricular septum defect
3. Overriding of aorta
Aorta ใหญ่จนทำให้ aortic root
เข้าใกล้ ventricular septum
4. Right ventricular
hypertrophy
การหนาตัวของก.หัวใจ ventricle ขวา
อาการ & อาการแสดง
Anoxic spells
หายใจเร็ว เหนื่อยหอบ ก.สับก.ส่าย
เขียว^ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือ
มักเกิด ตอนเช้า หลังตื่นนอน หลัง
เด็กร้องไห้ หรือหลังเบ่งถ่ายอุจจาระ
การตรวจร่างกาย
เขียวบริเวณริมฝึปาก เล็บมือเล็บเท้า
นิ้วปุ้ม (Clubbing of fingers and toes)
ตรวจเลือด hct.^ (Polycythemia) -> เลือดหนืด
เหนื่อยง่าย -> ถ้า > 65% -> เลือดออกง่ายหยุดยาก
(ค่า Prothrombin time^ จากเกล็ดเลือดต่ำลง)
ถ้าเด็ก TOF มี hct. = เด็กปกติ -> มีภาวะซีด
มี hemoglobin < 15 g/dl หรือ hct. < 50%
ตรวจภาพรังสีทรวงอก
พบเงาหลอดเลือดปอดลดลง จากการที่เลือดไป
เลี้ยงปอดน้อยลง จะเห็นหัวใจเหมือน
รองเท้าบู๊ต (boot shaped heart)
การรักษา
รักษาด้วยยา
ไม่มีอาการรุนแรง
ค.คุม hct. 50-60% โดยเพิ่มเหล็ก
Elixer Ferrous sulfate
Anoxic spells
Sodium bicarbonate
Metabolic acidosis
ให้เด็กสงบ นอนพัก
ให้ chloral hydrat
เด็กเขียว
จับนั่งยองๆขาชิดอก -> แรงดัน RV^
ไปปอดมากขึ้น (knee chest)
การผ่าตัด
ทำเมื่ออายุ 2-6 ปี หรือมีนน. > 10 kg
คำแนะนำ
ควรให้พ่อแม่สังเกตภาวะเขียว
ห้ามเด็กท้องผูก อย่าทำให้เด็กร้องไห้