Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยบ.เด็ก term ที่มีปัญหา (Maconium Aspiration Syndrom (MAS) (พยาธิสภาพ…
การพยบ.เด็ก term ที่มีปัญหา
Maconium Aspiration
Syndrom (MAS)
กลไก
ขาด O2 ในเลือด -> หลอดเลือด GI บีบ -> +ค.ลำไส้ ^
ก.หูรูดทวารหนักคลายตัว -> ขี้เทาปนออกมในถุงน้ำคร่ำ
สายสะดือถูกกด -> +ค.ลำไส้ -> ถ่ายขี้เทาตั้งแต่
อยู่ในครรภ์
พยาธิสภาพ
1. Airway obstruction
หลอดลมใหญ่ถูกอุดกั้น -> ขาด O2 รุนแรง (สูด thick macro)
ขี้เทาเล็กหลุดไปอุด ->
airway obstruction
-> hypoxia
อุดกั้นบริเวณขั้งปอด ->
ปอดแฟบ
-> ขยายตัวไม่ดี
-> พท.น้อย -> hypoxia
2. การอักเสบของปอด
พบ WBC จน.มากในถุงลม & เยื่อหุ้มปอด
ขี้เทายับยั้งการจับกินเชื้อโรค -> +ให้ Macrophage
สร้างสารที่ทำอันตรายต่อปอด
3. การยับยั้งการทำงาน
สารลดแรงตึงผิว
ลดระดับ SP-A & SP-B
(สารป.กอบสารลดแรงตึงผิว)
ปอดแฟบ -> hypoxia
4. ระดับ Endothelin-1
เพิ่มขึ้น
Vasoconstriction
-> ค.ดันหลอดเลือดปอด^
อาการ & อาการแสดง
ในครรภ์
หายใจลำบาก
การตอบสนองต่อการก.ตุ้นผิดปกติ
ระหว่างคลอด
หายใจลำบากมากขึ้น เจาะเลือด
ตรวจ Matabolic acidosis
Hypoxic-ischemic
encephalopathy
หลังคลอด
หายใจเร็ว หอบ เขียวรุนแรง +
respiratory distress (retraction, Barrel chest, crepitation, Rhonchi)
ป.เมินหายใจ, ให้ O2
การตรวจวินิจฉัย
พบขี้เทาปนเปื้อนในน้ำคร่ำ
ทารกมีขี้เทาในหลอดลม
ทารกมีขี้เทาใต้ต่อสายเสียง
การแลกเปลี่ยนแก๊สในเลือดผิดปกติ
Chest X-Ray
การรักษา
Amnioinfusion
สารลดแรงตึงผิว
Corticosteroids
Nitric oxide
High frequency ventilation
Clear airway หลังคลอด
การพยบ.
จัดท่านอนให้ปอดขยายตัว
ใช้ผ้าหนุนใต้ไหล่
ศีรษะสูง < 30 องศา
พลิกตะแคงตัว q.2 hr.
ติดตามอาการแสดงแลกเปลี่ยนแก๊สไม่ดี
ดูแลให้ O2 ประเมินออกซิเจน
Clear airway
ลดการรบกวนทารก เพื่อการใช้ O2
ติดตาม Cheat X-Ray
Hypoglycemia
น้ำตาลในเลือด < 45 mg/dl
ต่ำชั่วคราว (Transient hypo)
ทารกรับ glucose -> insulin ผ่านไม่ได้ ->
glucose แม่=ลูก -> glu แม่^ = ลูก^ -> + ตับอ่อน ->
หลั่ง insulin^ ค.คุมระดับน้ำตาล
วันคลอด
ตัดสายสะดือ -> ไม่ได้ glu จากแม่
insulin ยังเหลือ -> hypoglycemia
ต่ำลง 1-2 hr. หลังคลอด
เจาะนต. 35-40 mg/dl
ทารกปกติ => glu ^ เมื่อ 3-4 hr.
ประมาณ 60-70 mg/dl
ต่ำที่กลับเป็นซ้ำ /เป็นตลอดไป
(Recurrent)
สาเหตุ => insulin hormone เกินผิดปกติ
ร่างกายทารกมีการสร้าง glu ลดลง
หรือ มีการใช้งานมากขึ้น
ปัจจัยเสี่ยง
ด้านแม่
DM
HT pregnancy
คลอดยาก
C/S
ได้ยาบางชนิด
2. ด้านลูก
GA < 37 wks. (Preterm)
นน.แรกเกิด < 2,500 gm
SGA/ LGA
มีการเจ็บป่วย
3. อื่นๆ
Pancreatic disorders
Adrenal insufficiency
Delayed feeding, N/V
อาการ & อาการแสดง
ซึม
ไม่ดูดนม
N/V
Tต่ำ
Weak cry
อ่อนปวกเปียก
การรักษา
เจาะ DTX/ FBS in 1-2 hr. หลังคลอด
ติดตามจนกว่าปกติ
ให้สารน้ำ 5-10% D/W in 1-2 มื้อแรก
และเปลี่ยนเป็นนม
เจาะ DTX q 30 min
รายไม่มีอาการ => ให้สลล.กลูโคส /นม
รายที่แสดงอาการ => ให้ 10%D/W จนระดับอยู่ 40-80 mg/dl
ให้ยา และดูแลทั่วไปตามสาเหตุ
Ex. ต่ำจาก RDS จากติดเชื้อ => ป้องกันใช้พลังงาน^
Hyperglycemia
น้ำตาล > 125 mg/dl
สาเหตุ
H.ผิดปกติ สร้างนต.มากขึ้น
ได้รับนต.ทาง IV มากเกินไป
ใช้น้ำตาลน้อยลง
ตับอ่อนหลั่ง insulin ลดลง
พยาธิสรีรวิทยา
ทารกค.คุมระดับนต.ไม่ได้ จากการสร้าง
insulin H. & Glucagon ยังไม่สมบูรณ์
นต.^ -> สูญเสียน้ำออกร่างกาย^
เกิดการขาดน้ำ & นน.ตัวลดลง
อาการ & อาการแสดง
นต.ในปัสสาวะ (Glycosuria)
ปัสสาวะออกมาก สูญเสียน้ำ E'lyte
Dehydration
Hyperosmolality
IVH มีอาการผิดปกติของระบบป.สาท
การรักษา
ให้ IV ไม่ให้มากเกินไป
ปรับอัตราการให้ IV ลงครั้งละ 2 mg/kg/min
หรือปรับคขข.ลง EX. 10% -> 5%
**ระวัง Hemolytic
ให้ insulin ทาง IV drip
ติดตามระดับนต.ทุกชม.จนปกติ
การพยบ.
ให้ IV
I/O
ชั่ง นน. OD
ป.เมิน skin turgor, ผิวแห้ง, ตาลึกโหล
ค.ผิดปกติสมอง (ซึม, หายใจเร็ว, เขียว)
ติดตามระดับนต. & E'lyte