Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม (ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ…
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Theory)
ผู้นำคนสำคัญในกลุ่มนี้ คือ วูฟแก็งค์ โคห์เลอร์
การทดลองที่น่าสนใจของเขามี 2 ชนิด คือ
"Stict Problem" และ "Box Problem"
มีแนวคิดของเขาชื่อว่า "Insight Learning"
โดยการเรียนรู้การแก้ไขปัญหาของลิงชิมแปนซี
ไม่ใช้พฤติกรรมการลองผิดลองถูกแต่เป็นการมองเห็นความสัมพันธ์เพื่อนำไปสู่การแก้ไข
การนำมาใช้ในการเรียนการสอน
ควรให้ผู้เรียนมองเห็นโครงสร้างทั้งหมดของเรื่องที่จะสอนก่อน
ควรมีการจัดเนื้อหาการเรียนรู้ให้ผู้เรียน
เน้นความเข้าใจมากกว่าการท่องจำ
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ (Discovery Approach) ของ บรูเนอร์
เป็นผู้สนใจศึกษาเรื่องของพัฒนาการทางด้านสติปัญญาต่อเนื่องจากเพียเจท์
แนวคิดของบรูเนอร์ของพัฒนาการทางด้านสติปัญญามี 3 ขั้นตอน
เอ็นแอคทีป (Enactive Mode)
คือ ผู้เรียนปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมสัมผัสจับต้องด้วยมือ
ไอคอนนิค (Iconic Mode)
คิอ ผู้เรียนสร้างจิตนาการขึ้นในใจได้แม้เมื่อเอาวัตถุออกไปแล้ว
ซิมโบลิค (Symbolic Mode)
คือ ผู้เรียนใช้สัญลักษณ์เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ไม่ต้องเห็นวัตถุ
มนุษย์เรามีความพร้อมด้วยการฝึกฝน ไม่ใช่รอคอยให้เกิดขึ้นเอง
การเรียนรู้ที่ดีต้องมาจากการค้นพบของผู้เรียน
วิธีการจัดการเรียนการสอนของบรูเนอร์