Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Software privacy and Open source software (ตัวอย่างซอฟต์แวร์เสรีที่เป็นที่…
Software privacy and Open source software
What is Software privacy and Open source Software?
Software privacy คือ การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ (Software Piracy) คือ การทำซ้ำหรือดัดแปลง การเผยแพร่ซอฟต์แวร์ต่อสาธารณะชน การให้เช่าต้นฉบับหรือสำเนาซอฟต์แวร์ ตลอดจนการแสวงหากำไรจากซอฟต์แวร์โดยไม่ได้รับอนุญาตหรือโดยไม่ได้เสียค่าใช้จ่ายตามค่าลิขสิทธิ์ที่กำหนดไว้
Open source Software หรือซอฟต์แวร์ฟรี คือซอฟต์แวร์ที่สามารถแจกจ่ายได้ฟรี ในรูปแบบที่ผู้อื่นสามารถแก้ไขและสร้างใมห่ได้ตั้งแต่ต้น
https://www.gotoknow.org/posts/163907
Why we should be concerned with software privacy and Open source software
เนื่องจากข้อมูลต่างๆของเราเป็นความลับส่วนตัวดังนั้นการที่คนอื่นเข้ามาเพื่อเอาข้อมูลของเราไปใช้ก็เป็นเรื่องที่น่ากังวลไม่น้อย หากซอฟแวร์ที่เราใช้มันไม่ปลอดภัยและไม่น่าไว้ใจมันก็เป็นที่น่ากังวลอย่างยิ่ง
ความกังวลในการละเมิดลิขสิทธ์
1.โทษถูกปรับ
2.โทษจำคุก
3.ภัยคุกคามมัลแวร์จู่โจม
ตัวอย่างซอฟต์แวร์เสรีที่เป็นที่รู้จัก
ลินุกซ์
Wamp
ไฟร์ฟอกซ์
ทันเดอร์เบิร์ด
ทอร์
How to Avoid Illegal software privacy and Open source software
วิธีง่าย ๆ คือ ซื้อและใช้แต่ซอฟต์แวร์ของแท้เท่านั้น
ลักษณะการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่อนุญาตต่อผู้ใช้ จะถูกระบุไว้ในสัญญาการใช้งาน ดังนั้นควรอ่านสัญญาการใช้งานเสมอ เพื่อให้ทราบถึงข้อกำหนดและเงื่อนไขการใช้ ซึ่งจะแตกต่างกันในแต่ละผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์
วิธีแก้คือการไปใช้open source software
ดูจากเว๊บไซต์
ดูจากข้อตกลงขณะการดาวน์โหลด
ตัวอย่างข่าว
บก.ปอศ.เดินหน้าจับละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ในองค์กรธุรกิจ ไตรมาสแรกปี 2560 ดำเนินคดีองค์กรธุรกิจกว่า 50 บริษัท พบใช้ซอฟต์แวร์ผิดกฎหมาย ไม่มีสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิบนคอมพิวเตอร์มากกว่า 600 เครื่อง สูงสุดในกลุ่มธุรกิจออกแบบตกแต่งภายใน ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
เจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (บก.ปอศ.) ได้ดำเนินการออกหมายค้น เพื่อนำกำลังเข้าตรวจสอบร้านตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชั้นนำในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ในฐานความผิดด้านการละเมิดลิขสิทธิ์การติดตั้งและการใช้งานซอฟต์แวร์โดยไม่ได้รับอนุญาต
Who is affected?
https://www.techwalla.com/articles/the-effects-of-software-piracy
ผลกระทบต่อผู้พัฒนา ผู้พัฒนาไม่ได้รับ ค่าตอบแทนจากผู้ใช้ ไม่มีเงินทุนในการพัฒนาต่อ อาจไม่มี การอัพเดตใดๆจากผู้พัฒนา และก่อความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจ
อาจมีไวรัสแฝงเข้ามา หรือ ไม่ได้การอัพเดตใดจากผู้พัฒนา อาจทำให้เกิดความเสียหายกับผู้ใช้ คอมพิวเตอร์อาจโดนแฮกจากไวรัสที่แฝงเข้าโดยการ crack อาจโดนขโมยข้อมูลส่วนตัว เป็นต้น
ผลกระทบต่อผู้ใช้ คือ ความเสี่ยงในการรักษาความปลอดภัย
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์
หมายถึงการกระทำที่เกี่ยวข้องกับการคัดลอกซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับอนุญาต โดยมีหลายประเทศที่มีกฎหมายลิขสิทธิ์ที่มีกฎหมายบังคับ แต่ระดับการบังคับแตกต่างกันไป ระบบคอมพิวเตอร์ที่เก่าแก่ที่สุดในทุกวันนี้มีอายุราว 40 ปี ในด้านลิขสิทธิ์แล้วจะไม่หมดลิขสิทธิ์
ความผิดฐานละเมิดลิขสิทธิ์
1.
บุคคลนั้นจะมีความผิดฐานละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ มีโทษปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาท
2.
หากเป็นการกระทำเพื่อการค้า จะต้องโทษจำคุกตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 4 ปี หรือปรับตั้งแต่ 100,000 บาทถึง 800,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
3.
หากผู้ใดรู้หรือมีเหตุอันควรรู้ว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นทำขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ผู้อื่น โดยมีโทษปรับตั้งแต่ 10,000 บาทถึง 100,000 บาทและหากเป็นการทำเพื่อการค้า ผู้นั้นจะต้องโทษจำคุกตั้งแต่ 3 เดือน ถึง 2 ปี หรือปรับตั้งแต่ 50,000 บาทถึง 400,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์โดยทั่วไปมี 5 ลักษณะ
1.การละเมิดลิขสิทธิ์โดยผู้ใช้
เป็นรูปแบบการสร้างความเสียหายต่อ BSA มากที่สุด เรียกกันว่า "การละเมิดลิขสิทธิ์โดยผู้ใช้ในองค์กร" เกิดจากการที่องค์กรธุรกิจ ทำการสำเนาซอฟต์แวร์โดยไม่ได้รับอนุญาต
2.การใช้งานจำนวนมากในเครือข่าย
เกิดจากการมีผู้ใช้งานจำนวนมากในเครือข่ายเข้าใช้ซอฟต์แวร์ที่ส่วนกลางพร้อมกัน
3.การละเมิดลิขสิทธิ์ทางอินเตอร์เน็ต
3.1
เว็บไซต์ที่เปิดให้ดาว์นโหลดหรือแลกเปลี่ยนซอฟต์แวร์ทางการค้าโดยไม่มีค่าใช้จ่าย
3.2
เว็บไซต์ที่เสนอการประมูลซอฟต์แวร์ผิดกฎหมาย, ซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธิ์ หรือซอฟต์แวร์ที่ไม่ตรงกับช่องทางจำหน่ายที่กำหนด
3.3
เครือข่าย Peer-to-Peer ที่อนุญาตให้แลกเปลี่ยนซอฟต์แวร์มีลิขสิทธิ์ระหว่างกัน
4.การติดตั้ง ซอฟต์แวร์ในฮาร์ดดิสก์
เกิดจากการที่ผู้จำหน่ายคอมพิวเตอร์ทำการติดตั้งซอฟต์แวร์ให้กับลูกค้าอย่างผิดกฎหมาย เพื่อจูงใจให้เกิดการซื้อ
5. การสำเนาซอฟต์แวร์อย่างผิดกฎหมาย
คือการทำสำเนาอย่างผิดกฎหมาย หรือจำหน่ายสินค้าที่ละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์โดยเจตนา สำหรับกรณีของซอฟต์แวร์ที่มีบรรจุภัณฑ์นั้นพบว่า ได้มีการจำหน่ายซีดีหรือดิสก์เก็ตที่ทำสำเนาอย่างผิดกฎหมายพร้อมด้วยคู่มือ, สัญญาการใช้งานและบัตรลงทะเบียนโดยมีบรรจุภัณฑ์และคุณสมบัติป้องกันการปลอมแปลงที่เหมือนกันกับผลิตภัณฑ์ของแท้ให้เห็นเช่นกัน
ระยะเวลาในการคุ้มครอง
อายุการคุ้มครอง
– บุคคลธรรมดา : ตลอดอายุผู้สร้างสรรค์ + 50 ปี
– นิติบุคคล : 50 ปีหลังจากสร้างสรรค์ หรือ โฆษณางานครั้งแรก
Open Source Software
ความหมาย
เป็นการเปิดให้บุคคลภายนอกได้ใช้ ภายใต้เงื่อนไขบางประการที่เปิดโอกาสให้ผู้ใช้ทำการแก้ไข ดัดแปลงและเผยแพร่ซอร์สโค้ดได้ภายใต้เงื่อนไขทางข้อตกลงทางกฎหมาย เช่น สัญญาอนุญาตสำหรับซอฟต์แวร์เสรี GPL License หรือ BSD License
ตัวอย่างสัญญาอนุญาตสำหรับซอฟต์แวร์เสรี
GPL License
เป็นสัญญาอนุญาตสำหรับซอฟต์แวร์เสรี ที่ได้รับความนิยมสูงที่สุดในปัจจุบันที่พัฒนาเพื่อใช้สำหรับไลบรารีซอฟต์แวร์
ลักษณะของสัญญาอนุญาตจีพีแอลมีลักษณะ "เสรี" (free)
1.เสรีภาพในการใช้งาน ไม่ว่าใช้สำหรับจุดประสงค์ใด
2.เสรีภาพในการศึกษาการทำงานของโปรแกรม และแก้ไขโค้ด การเข้าถึงซอร์สโค้ดจำเป็นสำหรับเสรีภาพข้อนี้ (โอเพนซอร์ซ)
3.เสรีภาพในการจำหน่ายแจกจ่ายโปรแกรม
4.เสรีภาพในการปรับปรุงและเปิดให้บุคคลทั่วไปใช้และพัฒนาต่อไป การเข้าถึงซอร์สโค้ดจำเป็นสำหรับเสรีภาพ
หนังสั้น
หนังสั้นอื่นๆ
เนื้อเรื่องย่อ
ในเรื่องมีการซื้อซอฟต์เเวร์จากร้านคอมพิวเตอร์ เเล้วเมื่อกลับไปถึงห้องก็พบว่าเป็นซอฟต์เเวร์เถื่อนเเล้วทำให้คอมของเขาพัง
เเละ มีการซื้อขายเเผ่นซอฟต์เเวร์ผิดกฎหมายเเล้วก็โดนตำรวจจับ ทั้งคนซื้อเเละคนขาย
บทลงโทษ
1.
บุคคลนั้นจะมีความผิดฐานละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ มีโทษปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาท
2.
หากเป็นการกระทำเพื่อการค้า จะต้องโทษจำคุกตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 4 ปี หรือปรับตั้งแต่ 100,000 บาทถึง 800,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
3.
หากผู้ใดรู้หรือมีเหตุอันควรรู้ว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นทำขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ผู้อื่น โดยมีโทษปรับตั้งแต่ 10,000 บาทถึง 100,000 บาทและหากเป็นการทำเพื่อการค้า ผู้นั้นจะต้องโทษจำคุกตั้งแต่ 3 เดือน ถึง 2 ปี หรือปรับตั้งแต่ 50,000 บาทถึง 400,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
หนังสั้นโตไปไม่โกง
ตอน Sorry พูดถึงการ copy เเล้วตอนจบถามถึง window เเท้รึป่าว ซึงเด็กฝึกงานก็ตอบไม่ได้ ซึ่งอาจจะหมายถึงใช้ window ไม่เเท้
ตอน เที่ยงคืน ช่วงกลางเรื่องมี การโหลดบิท ซึ่งอาจจะเป็นการโหลดซอฟต์เเวร์มีลิขสิทธิ
Software Privacy