Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hydrocephalus ภาวะน้ำคั่งในสมอง (อาการและอาการแสดง (ศีรษะโต/หัวบาตร…
Hydrocephalus ภาวะน้ำคั่งในสมอง
อาการและอาการแสดง
ศีรษะโต/หัวบาตร (cranium enlargement)
2.เด็กเล็กที่กระหม่อมยังไม่ปิด จะพบว่ากระหม่อมหน้าโป่งตึงกว่าปกติ (fontanelle bulging)
3.หนังศีรษะบางและมองเห็นหลอดเลือดดำบริเวณใบหน้าหรือศีรษะโป่งตึงชัดมากกว่าปกติ (enlargement & engorgement of scalp vein)
เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก (Macewen sing Cracked pot sound)
5.อาการแสดงของความดันในกะโหลก ศีรษะสูง (signs of increase intracranial pressure)
6.ตาทั้ง2 ข้างกรอกลงล่าง กรอกขึ้นบนไม่ได้ทำให้เห็นตาขาวเหนือตาดำมากกว่าปกติ
7.ตาพล่ามัว เห็นภาพซ้อน (diplopia) เกิดจากการดึงรั้งของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 ร่วมกับภาวะจอรับภาพบวม
8.รีเฟล็กซ์และ tone ของขาทั้ง 2 ข้างไวกว่าปกติ (hyperactive reflex)
9.มีอาการและอาการแสดงของความผิดปกติทางระบบประสาท
สัญญาณชีพผิดปกติ ชีพจรเต้นแรงและเร็วในช่วงแรกต่อมาจะเริ่มเต้นช้าลงใจช้าลง
กล้ามเนื้ออ่อนแรงหรืออัมพาตครึ่งซีกตรงข้ามรอยโรค
พัฒนาการทั่วไปจะช้ากว่าปกติ (delay development)
การเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า สติปัญญาต่ำกว่าปกติหรือปัญญาอ่อน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
อาจเกิดภาวะขาดสารน้ำและสารอาหาร เนื่องจากการอาเจียนและการดูดกลืนลำบาก
อาจเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงในระยะ 1-3 วันแรก เนื่องจากมีการขัดขวางการไหลของน้ำไขสันหลังไปสู่ช่องท้อง
มีโอกาสเกิดแผลกดทับบริเวณศีรษะได้ง่าย
มีโอกาสเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงจากการคั่งของน้ำไขสันหลังในกะโหลกศีรษะ
ให้การพยาบาล เพื่อลดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ดูแลให้มีการระบายน้ำไขสันหลัง
นเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 2 ปีควรวัดเส้นรอบศีรษะ (OF) ทุกวัน
ดูแลให้ได้รับยา
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
เสี่ยงต่อภาวะ sudural hematoma ในระยะ 1-3 วันแรก หลังผ่าตัด V-P shunt จากการมีน้ำไขสันหลังไหลเข้าสู่ช่องท้องอย่างรวดเร็ว
เสี่ยงต่อการติดเชื้อบริเวณ shunt ทั้งในระยะแรกหลังผ่าตัดและเมื่อกลับไปดูแลที่บ้าน
เสี่ยงต่อภาวะ shunt ทำหน้าที่ผิดปกติจากการใส่เป็นเวลานาน
บิดามารดาเกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับสภาพของบุตร
การวินิจฉัยโรค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และการตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยการส่องไฟฉาย (transillumination test)
การตรวจอัลตราซาวด์สมอง (Ultrasound)
การตรวจด้วยภาพทางรังสีวินิจฉัย (diagnostic lmaging)
MRI brain เพื่อตรวจหาสาเหตุของการเกิดภาวะน้ำคั่งของโพรงในสมอง
การตรวจคอมพิวเตอร์สมอง (computerized tomography scan)
การถ่ายภาพกะโหลกศีรษะ (skull x-ray) อาจช่วยในการวินิจฉัยเฉพาะโรค
การฉีดสีเข้าโพรงสมอง (ventriculography)
การฉีดสีเข้าเส้นเลือดสมอง (cerebral angiography)
การตรวจร่างกาย
ตาทั้งสองข้างกรอกลงล่าง กรอกขึ้นบนไม่ได้
ขนาดศีรษะโตกว่าปกติ
.การซักประวัติ
ขนาดศีรษะเพิ่มขึ้นผิดสังเกตพัฒนาการช้า
กลไกการเกิด
ความดันในกะโหลกศีรษะเกิดจากส่วนประกอบทั้ง 3 ส่วน
ส่วนประกอบที่เหลือจะมีการปรับตัว เพื่อให้ความดันอยู่ในภาวะที่สมดุล
ภายในกะโหลกศรีษะประกอบด้วยอวัยวะสำคัญ 3 ส่วน คือ เนื้อสมองและเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลังและโลหิต
เพื่อให้สมองสามารถทำงานได้ตามปกติ
ถ้าการปรับเปลี่ยนไม่อยู่ในภาวะที่สมดุล จะทำให้มีความดันภายในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
สาเหตุ
การสร้างหรือการผลิตน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ(increase CSF secretion
การอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
1 obstructive hydrocrphalus หรือ non communicating hydrocephalus
2 communicating hydrocephalus
. ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
การรักษา
การผ่าตัด
การผ่าตัดเพื่อรักษาสาเหตุของโรค
การผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง (shunting)
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย (external ventricular drainage : EVD ,ventriculostomy)
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
การผ่าตัดใส่สายระบายจากโพรงสมองลงช่องหัวใจ (ventriculo-atrial shunt :VA shunt)
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำจากโพรงสมองลงช่องท้อง (ventriculo-peritoneal shunt :VP shunt)
การผ่าตัดใส่สายระบายจากโพรงสมองลงช่องปอด (ventriculo-pleural shunt :VP shunt)
การผ่าตัดระบายจากโพลงสมองลงช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง (ventriculo-pleural shunt :VP shunt)
การเจาะน้ำไขสันหลัง (lumbar puncture) ร่วมกับการให้ยาลดการสร้างน้ำไขสันหลัง
การรักษาด้วยยา
ยาในกลุ่ม osmotic diuretics
3.ยาในกลุ่มnon osmotic diuretics
1.carbonic anhydrase inhibitor
4.สเตียรอยด์ มักได้ผลดีในภาวะสมองบวมจาก vasogenic edema
การให้ยากันชัก เพื่อป้องกันการชัก
ความหมาย
มีการคั่งของน้ำไขสันหลังในกะโหลกศีรษะบริเวณเวนตริเคิล (Ventricle) ของสมอง และ subarachnoid space
น้ำไขสันหลังที่คั่งปริมาณมากจะทำให้ความดันภายในกระโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
การแบ่งชนิดของสายระบายน้ำในโพลงสมองสู่ช่องในร่างกาย
ชนิดที่ปรับเปลี่ยนวาล์วควบคุมความดันในกระโหลกศีณษะจากภายนอกร่างกายโดยใช้แม่เหล็ก (adjustable, Cosman Hakim programmable shunt)
แบ่งตามรูปแบบของวาล์ว ที่ควบคุมความดันในกระโหลดศีรษะ (pressure regulate)
ความดันกลาง (medium pressure 5-10 mm.Hg)
ความดันต่ำ (low pressure <5 mm.Hg)
ความดันสูง (high pressure >10 mm.Hg)