Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กกระดูกสันหลังโหว่ (สาเหตุ (ขาดสารอาหาร…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กกระดูกสันหลังโหว่
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดที่เกิดจากจากแนวโค้งของกระดูกสันหลัง (vertebral arches) ทั้งสองด้านไม่เชื่อมต่อกันระหว่างที่ทารกเจริญเติบโตในครรภ์โดยมากมักเป็นบริเวณกระดูกสันหลังส่วนล่าง ช่องภายในกระดูกสันหลังเปิดออกจึงอาจทำให้มีถุงของเยื่อหุ้มสมองยื่นออกมาได้โดยในถุงที่ยื่นออกมานี้อาจมีน้ำเล้ียงสมองและไขสันหลังหรืออาจมีบางส่วนของไขสันหลังออกมาด้วย ดังนั้นผู้ป่วยอาจมีความผิดปกติของระบบประสาทร่วมด้วยเช่นความผิดปกติการควบคุมระบบปัสสาวะทั้งนี้ขึ้นอยู่ความรุนแรงของโรค เกิดในช่วงเดือนแรกของการตั้งครรภ์
ชนิดความผิดปกติ Spina Bifida
Spina Bifida Occulta
Non fusion of spina arche ให้เกิด Isolated vertebral defects (L5,L1)
ไม่มีอาการอะไร แต่อาจพบรอยบุ๋ม (Dimple) ขนขึ้น, ปาน, Lipoma ,Sinus tract
Bifida Spina cystica
Meningocele
Meninges และมีถุงน้ำปูดออกมาจะมีผิวหนังคลุมไว้ ไม่มีเส้นประสาทใน Sac ไม่มีการสูญเสีย Sensory & Motion
Myelomeningocele / meningomylocele
เหมือน Meningocele แต่มีเส้นประสาทอยู่ใน sac เยื่อหุ้มสมองและไขสันหลังที่ยื่นออกมา เด็กมีความบกพร่องของ Motor & Sensory บริเวณที่อยู่ต่ำกว่า Sac 80 % ของเด็กกลุ่มนี้มีความพิการอื่นร่วมด้วย
สาเหตุ
ได้รับยา สารเคมีบางชนิด
ขาดสารอาหาร
ขาดกรดโฟลิกในระหว่างตั้งครรภ์
โรคอ้วนของหญิงตั้งครรภ์
พันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม
การได้รับอินซูลินในหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน
อาการและอาการแสดง
Bifida Spina cystica ชนิด Meningocele
ไม่พบอาการผิดปกติ
Bifida Spina cystica ชนิด Myelomeningocele
ทำให้เกิดอัมพาตของแขน ขาและความรู้สึกที่าเสียไป ร่วมกับการผิดรูป
ปัสสาวะคั้งและกลั้นไม่ได้ ทำให้ขับถ่ายปัสสาวะได้ช้าและมีแรงดันย้อนกลับ (Back Pressure) นำการติดเชื้อสู่ไต
กลั้นอุจจาระไม่ได้เนื่องจากหูรูดทวารหนักเป็นอัมพาต
clubfoot
ความผิดปกติอื่นของระบบประสาทส่วนกลาง
ACC
DWN
Hydrocephalus
พยาธิสรีรภาพ
ระยะแรกของการพัฒนา fetus
พัฒนาระบบประสาทไขสันหลังและสมอง
กระดูกสันหลังจะค่อยๆเจริญออกมาล้อมรอบไขสันหลัง
ถ้ามีความผิดปกติของกระดูกสันหลัง กระดูกสันหลังจะไม่ยื่นออกมาเชื่อมกันเป็นวงแหวนเพื่อหุ้มไข้สันหลัง
ทำให้เกิดรูโหว่
CSF จะดันให้ spinal cord ออกมาอยู่นอกไขสันหลัง
การรักษา
การผ่าตัดปิด ผิวหนังบริเวณที่เป็น Open หรือ Thin walled – spinal defect โดย Laminectomy Repair of Meningocele Creniotomy with Repair of Meningocele
ผลข้างเคียง
แรงดันน้ำเลี้ยงสมองมากกว่าปกติ
hydrocephalous
วัดรอบศรีษะเป็นระยะหลังผ่าตัด
ติดเชื้อเยื่อหุ้มสมอง
เกลือแร่ต่ำ
VP – shunt ถ้ามี Hydrocephalus
ใส่ Brace ที่ขา, ลำตัว เพื่อการเคลื่อนไหว
รักษาปัสสาวะคั้งและกลั้นไม่ได้
Intermittent Bladder catheterization
Physical Therapy
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
ประวัติมารดาไม่ได้รับประทานยาโฟลิคในขณะตั้งครรภ
ประวัติมารดาได้รับยากันชักประเภท valporic acid
การตรวจร่างกาย
บริเวณด้านหลังตามแนวกระดูกสันหลังมีรอยบุ๋มหรือกระจุกขน
อาจพบก้อนหรือถุงขนาดเล็กหรือใหญ่
ไม่สามารถขยับแขนหรือขา หรือมีอาการอ่อนแรง
มีความผิดปกติของข้อสะโพก หรือเท้า
การตรวจพิเศษ
CT scan
MRI
การใช้ไฟฉายส่องบริเวณก้อนหรือถุง (transilluminaton
meningocele จะพบว่าโปร่งใส ภายในไม่มีไขสันหลังอยู่
alpha fetoprotein (AFB)
ขณะมารดาตั้งครรภ์ได้ 16-18 สัปดาห์
ระดับสาร AFB ที่ผิดปกติ
เจาะน้ำคร่ำมารดามาตรวจซ้ำ และทำการอัลตราซาวน์ครรภ์มารดา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการบาดเจ็บเนื่องจากก้อนหรือถุงแตกได้ง่าย
เป้าหมายการพยาบาล
ก้อนหรือถุงไม่ได้รับบาดเจ็บ เนื่องจากมีก้อนหรือถุงแตกได้ง่าย
เกณฑ์การพยาบาล
ก้อนหรือถุงเยื่อหุ้มสมองปกคลุมไม่ฉีกขาด
การพยาบาล
อุ้มทารกด้วยความระมัดระวัง อ่อนโยน เพื่อป้องกันอันตรายไม่ให้มือไปสัมผัสถูกก้อนหรือถุงบริเวณด้านหลังของทารก
จัดให้ทารกนอนท่าคว่ำหรือนอนตะแคง เพื่อลดแรงตึงผิวบริเวณก้อนหรือถุง
หาอุปกรณ์พยุงรอบๆก้อนหรือถุงอาจใช้ผ้าม้วนวางก้อนหรือถุงเพื่อป้องกันก้อนหรือถุงได้รับอันตราย ป้องกันการเสียดสีหรือถูกกดทับกับวัตถุอื่น
ให้การพยาบาลหลายชนิดในเวลาเดียว เช่น การทำเตียง การให้อาหาร เพื่อป้องกันกันกระทบกระเทือนถูกก้อนหรือถุง
ให้อาหารนมแก่ทารกโดยเอียงศีรษะทารกไปด้านใดด้านหนึ่งในท่านอนคว่ำหรือนอนตะแคง ไม่ตัดทารกท่านอนหงายราบ ศีรษะสูงเหมือนทารกปกติ เพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนถูกก้อนหรือถุง
อาจเกิดภาวะติดเชื้อเนื่องจากก้อนหรือถุงแตกเยื่อหุ้มสมองไม่มีผิวหนังปกคลุมหรือเนื่องจากก้อนหรือถุงไม่มีผิวหนังปกคลุม
บิดามารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับก้อนหรือถุงบริเวณด้านหลังของทารกและการผ่าตัด
ระยะหลังผ่าตัด
อาจเกิดการติดเชื้อภายหลังการผ่าตัด
อาจเกิดภาวะเลือดออกมากภายหลังการผ่าตัด
บิดามารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับอาการของทารกหลังการผ่าตัด
อาจเกิดอันตรายจากการที่บางส่วนของร่างกายสูญเสียความรู้สึก ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้
บิดามารดาขาดความรู้ในการดูแลทารกเมื่อกลับบ้าน