Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เศรษฐศาสตร์ (ก่อน ศตวรรษที่ 16 (อริส โตเติล เป็นนักปรัชญาชาว กรีก…
เศรษฐศาสตร์
ศตวรรษทที่ 19
ในช่วงศตวรรษที่ 19 ทวีปยุโรปมีการขยายตัวด้านอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว มีการอพยพแรงงานจากภาคเกษตรกรรมเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น จนปลายศตวรรษที่ 19 อัลเฟรด มาร์แชลด้เสนอทฤษฎีว่าด้วยการผลิต อันเป็นที่มาของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาคแต่ต่อมาเกิดเหตุการณ์เศรษฐกิจตกต่ำไปทั่วโลก ประชาชนว่างงานมากขึ้น จอห์น เมนาร์ด เคนส์จึงเสนอทฤษฎีว่าด้วยการจ้างงานโดยแนะนำให้รัฐบาลใช้นโยบายการคลังและการเงินเข้าช่วยแก้ไข เมื่อประเทศเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ จึงกลายเป็นที่มาของเศรษฐศาสตร์มหภาค
จุดรวมของเศรษฐศาสตร์จุลภาค จอห์น เมนาร์ด เคนส์ ได้เขียนหนังสือชื่อThe General Theory of Employment Money and Interest โดยได้อธิบายสาเหตุของภาวะสินค้าล้นตลาดและการว่างงานทั่วไป วิธีแก้ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำและการว่างงานโดยใช้นโยบายการเงินและการคลัง หนังสือเล่มนี้ถือเป็นหนังสือเศรษฐศาสตร์มหภาค เล่มแรกของโลก
คำว่า เศรษฐศาสตร์ แปลว่าการจัดการครัวเรือน แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันแยกออกมาจากขอบเขตที่กว้างของวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองเมื่อปลายศตวรรษที่ 19
ก่อน ศตวรรษที่ 16
อริส โตเติล เป็นนักปรัชญาชาว กรีก มีแนวความคิดในความมั่งคั่ง
2ประการณ์
- ความมั่งคั่งที่แท้จริง มีอยู่ตามธรรมชาติและมีอยู่อย่างจำกัด ไม่สามรถสร้างเพิ่มขึ้นได้ เช่น ที่ดิน แร่ธาตุต่างๆ น้ำมัน แก๊สธรรมชาติ
- ความมั่งคั่งที่ต้องแสวงหา เป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์และคิดค้นขึ้น ไม่จำกัด เช่น การแลกเปลี่ยนซื้อขายสินค้า
แนวความคิดในทางเศรษฐศาสตร์ เกิดขึ้นมาช้านานแล้วโดยการแทรกอยู่ในหลักคำสอนทางศาสนาต่างๆ ตลอดจนหลักปรัชญาของกรีกยุคโบราณ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำรงชีวิตให้มีความสุขตามอัตภาพ แต่แนวความคิดดังกล่าวยังไม่ได้มีการประมวลไว้อย่างเป็นระบบที่ดี จึงอยู่กันอย่างกระจัดกระจาย จนกระทั่งถึงในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16
เพลโต เป็นนักปรัชญาชาวกรีกมีแนวคิดในเรื่อง “การแบ่งงานกันทำ ” ความต้องการและความต้องการของมนุษย์แต่ละคนมีความแตกต่าง ถ้าทุกคนทำงานเหมาะกับความสามารถของตนมากที่สุดจะทำให้เกิดผลผลิตมากที่สุด
โมมัส อไควนัส นักบวชในศาสนาคริสต์ ชาวอิตาเลียน
มีแนวความคิดว่าควรจะนำหลักคำสั่งสอนของของศาสนาเรื่องศีลธรรมจรรยา มาใช้กับหลักด้านเศรษฐศาสตร์เพื่อลดความเห็นแก่ตัวลง
อไควนัส ได้ให้ความเห็นในเรื่องมูลค่าของสิ่งของว่า “ควรเป็นราคายุติธรรม” ราคายุติธรรมจึงไม่ถูกไม่แพง เป็นราคาที่ดีทั้งนี้ขึ้นอยู่กับท้องถิ่น เวลา การเสี่ยงภัย การขนส่ง
ศตวรรษที่ 16
ซึ่งเป็นยุคที่การค้าทางยุโรปเริ่มเจริญรุ่งเรือง พ่อค้าในเมืองที่เป็นศูนย์กลางการค้าเริ่มมีความคิดเห็นว่า การค้าขายจะนำความมั่งคั่งมาสู่ประเทศได้นั้น เกิดจากการส่งสินค้าออกให้มีมูลค่ามากกว่าการสั่งสินค้าเข้า ทำให้เกิดลัทธิทางเศรษฐกิจที่เรียกว่า “ลัทธิพาณิชย์นิยม” (Mercantilism)
ศตวรรษที่ 18
ได้มีนักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษบุคคลแรกที่วางรากฐานวิชาเศรษฐศาสตร์ คือ อาดัม สมิธ (Adam Smith) ได้เขียนตำราทางเศรษฐศาสตร์เล่มแรกของโลก
-
จากหนังสือของอาดัม สมิธ ดังกล่าวถือเป็นตำราทางเศรษฐศาสตร์ที่สำคัญเล่มแรกของโลก และตัวเขาได้รับการยกย่องให้เป็น
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-