Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคลมชัก (Epilepsy) :explode: (อาการ และอาการแสดง :black_flag: (1.อาการนำ…
โรคลมชัก (Epilepsy)
:explode:
สาเหตุ
:red_flag:
1.ความผิดปกติของเนื่อเยื่อสมอง
-เนื้องอก ได้แก่ Brain tumor ชนิด Astrocytoma หรือ Metastasic brain tumor
-ภาวะอักเสบ/ติดเชื้อที่สมอง ได้แก่ Brain abscess, Encephalitis
2.การเสียสมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ โดยเฉพาะแคลเซียม ทำให้การทำงานของเซลล์ประสาทมากขึ้นหรือน้อยลง
3.การได้รับยา แอลกอฮอล์ และสารพิษต่างๆ
4.ภาวะแทรกซ้อนของโรคอื่นๆ ที่มีผลต่อเซลล์สมอง เช่น ภาวะตับวาย เป็นต้น
อาการ และอาการแสดง
:black_flag:
1.อาการนำ (Prodomal symptoms ) อาการบอกเหตุล่วงหน้าหลายชั่วโมง หรือ 2-3 วัน ได้แก่ เวียนศรีษะ กล้ามเนื้อกระตุก
2.อาการเตือน (Aura ) อาการเกิดขึ้นนำมาก่อนที่จะมีอาการ เช่น อาการชา เห็นแสงไฟ ระยะเวลาอาจจะสั้นมากเป็นวินาทีหรือนาที
3.อาการเกร็ง (Tonic phase ) เป็นระยะที่เกร็งกล้ามเนื้อทั่วๆไป อาจมีน้ำลายมาก กัดฟัน
4.อารการกระตุก (Clonic Phase ) กระตุกแขนขา โดยระยะแรกจะถี่และต่อไปค่อยๆลดลงจนกระทั่งหยุด
5.อาการหลังชัก (Postical phase ) เป็นระยะที่กล้ามเนื้อคลายตัว ผู้ป่วยอาจหมดสติต่อไป ประมาณ 2-3 นาที และอาจหลับต่อ เมื่อตื่นขึ้นผู้ป่วยมักจะมีอาการมึนงง ปวดศรีษะ คลื่นไส้
การตรวจวินิจฉัยโรค
:star:
1.การชักประวัติโดยการสอบถามผู้ป่วยญาติหรือผู้เห็นเหตุการณ์
2.การตรวจร่างกาย
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-การตรวจเลือด เช่น CBC, Blood sugar, Calcium, BUN, Cr, Electrolyte
-การตรวจระดับของสารพิษต่างๆ ในเลือดและปัสสาวะ
-การทำ Computed tomography scan (CT) หรือ Magnetic resonance imaging (MR)
การรักษาด้วยยา
:!:
1.กลุ่ม Benzodiazepines ได้แก่ Diazepam, Clonazepam, Lorazepam
2.กลุ่ม Hydantoins ได้แก่ Dilantin
3.Barbiturates ได้แก่ Phenobarbital, Pimidone ให้ในชนิดชักทั้งตัว
4.กลุ่มอื่นๆ เช่น Carbamazepine, Valproic acid ใช้ได้กับอาการชักทุกประเภท
การพยาบาล
:pencil2:
การดูแลผู้ป่วยในระยะที่มีภาวะชัก
สังเกตลักษณะอาการชัก รวมทั้งประเมินระดับความรู้สึกตัว การอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
ระยะการดูแลต่อเนื่องหลังอาการชัก
-ประเมินอาการชักและการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท หากพบรีบรายงานแพทย์
-อธิบายถึงความจำเป็นของการรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง และแนะนำผู้ป่วยไม่งดยาเองถึงแม้ไม่มีอาการชักแล้ว
-เน้นความสำคัญในการมาตรวจตามนัด
การวางแผนจำหน่าย
:pen:
ดูแลต่อเนื่องในระยะยาวภายหลังเมื่อผู้ป่วยโรคลมชักกลับไปอยู่บ้าน
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบเกี่ยวกับลักษณะของโรคลมชัก
สอนผู้ป่วยให้สังเกตอาการผิดปกติจากผลข้างเคียงของยา และมารับการรักษาต่อเนื่องเพื่อเป็นการวางแผนดูแลรักษาต่อเนื่องและเหมาะสม