Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การย้ายถิ่นฐานของแต่ละภาค ดช.ธนาดล สุขเเจ่ม :tada: (ภาคใต้ (ภาคใต้เป็นภาค…
การย้ายถิ่นฐานของแต่ละภาค ดช.ธนาดล สุขเเจ่ม :tada:
ภาคใต้
แรงงานย้ายถิ่นเข้าภาคใต้ ในปริมาณที่น้อยที่สุด
แต่มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
เป็นผลมาจากภาคใต้เป็นภาค ที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่นำรายได้เข้าประเทศในระดับสูง
ภาคใต้เป็นภาค ที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่นำรายได้เข้าประเทศในระดับสูง ได้แก่
สวนผลไม้
กิจการประมง
การท่องเที่ยว
ดีบุก
ยางพารา
ประชากรแตกต่างกันจะมีลักษณะการย้ายถิ่นที่แตกต่างกัน
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการย้ายถิ่นออกภาคใต้ ได้แก่
อุปสรรคแทรกกลางเกี่ยวกับ
เครือข่ายทางสังคม
ปัจจัยผลักดัน ได้แก่
อัตราส่วนความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ปัจจัยดึงดูด
รายได้
ปริมาณน้ำฝน
ความชื้นสัมพัทธ์
อัตราการศึกษา
อัตราส่วน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การตั้งถิ่นฐานของประชากร
ตั้งถิ่นฐานอยู่ตามที่ดอน
บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำสายสำคัญ คือ
แม่น้ำชี
แม่น้ำมูล
แตกต่างไปจากภาคกลางและภาคเหนือ คือ
มีการตั้ง ถิ่นฐานอยู่อย่างหนาแน่นเป็นกระจุก
อยู่รอบๆ อ่างเก็บน้ำ
น้ำเป็นปัจจัยสำคัญของการตั้งถิ่นฐานในเขต ที่มีความ แห้งแล้ง
ตั้งถิ่นฐานอยู่ตามแนวเส้นของถนนสายสำคัญที่ตัดผ่าน จังหวัดต่าง ๆ
ศูนย์กลางที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น
นครราชสีมา
เมืองพล
บ้านไผ่
การย้ายถิ่นฐาน
มีโอกาศที่จะโดนภัยธรรมชาติ
เเห้งเเล้ง
ปลูกพืชไม่ขึ้น
ภาคกลาง
ลักษณะการตั้งถิ่นฐานของคนในภาคกลาง
หมู่บ้านริมน้ำ
หมู่บ้านที่เกิดตามริมแม่น้ำ ลำคลอง
มีลักษณะยาวไปตามลำน้ำพื้นที่ด้านหลังหมู่บ้านมักเป็นสวน
ถัดจากสวนเป็นทุ่งนา มีวัดเป็นศูนย์กลา ง
อาศัยลำน้ำในการกิน การใช้ และเป็นเส้นทางสัญจร
หมู่บ้านริมทาง
หมู่บ้านที่เกิดขึ้นจากการเป็นจุดพัก
ชาวบ้านชาวป่าจึงมาปลูกเพิงเพื่อขายอาหารหรือของจําเป็นอื่นๆ
กลายเป็นเรือนพักอาศัยและชุมชนหรือหมู่บ้านขึ้น
หมู่บ้านดอน
หมู่บ้านที่เกิดขึ้นห่างจากแม่น้ำลำคลอง
มักตั้งอยู่รวมกันบนที่ดอนหรือพื้นที่ที่สูงกว่านาที่อยู่โดยรอบ
มักขุดสระน้ำเพื่อกินใช้ในหมู่บ้าน
หมู่บ้านกระจาย
หมู่บ้านที่บ้านแต่ละหลังจะตั้งอยู่แยกกันตามพื้นที่
ความผูกพันกันในหมู่บ้านน้อยกว่าแบบอื่นๆ
ภาคเหนือ
ลักษณะการตั้งถิ่นฐานของคนในภาคเหนือ
ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นภูเขาที่ราบสูง
ที่ราบระหว่างหุบเขาที่มีแม่น้ำไหลผ่าน
บริเวณที่ราบระหว่างหุบเขาและที่ราบริมแม่น้ำ
แม่น้ำปิง
แม่น้ำวัง
แม่น้ำยม
แม่น้ำน่าน
ผู้คนมาตั้งถิ่นฐานตั้งแต่ยุคหิน ทั้งนี้โดยพบหลักฐาน เช่น
เครื่องมือหินกะเทาะที่เก่าแก่ที่สุดที่บ้านแม่ทะ
บ้านดอนมูล จังหวัดลำปาง
ถ้ำผีแมน จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ภาคตะวันออก
.การอพยพย้ายถิ่นของประชากร
แต่เดิมเป็นการย้ายเฉพาะผู้ที่อาศัยอยู่ในแถบจังหวัดที่ อยู่ทางตะวันออกของภาคกลางไปอยู่ชลบุรีเท่านั้น
อัตราการอพยพย้ายถิ่นภายในภูมิภาคสูงขึ้น
แทนที่จะอพยพย้ายถิ่นไปอยู่ชลบุรีเช่นเดิมกลับย้ายต่อไปยัง
ตราด
จันทบุรี
ระยอง
บริเวณชายฝั่งที่มีทิวทัศน์สวยงาม
ได้ดึงดูดให้ประชากรอพยพเข้าไปหางานทำตรามแหล่งบริการท่อง เที่ยวมากขึ้น
มีนักท่องเที่ยวมาก จึงมีรายได้ดี
ปัจจุบันพื้นที่ในเขตระหว่างสัตหีบไปยังระยองซึ่งเป็นเขตการขยาย
แหล่งอุตสาหกรรมหนัก
โดยอาศัยก๊าซธรรมชาติ ที่ส่งมาตามท่อในทะเลเป็นเชื้อเพลิง
ดินในบริเวณนี้มีราคารสูงขึ้นจนต้องระงับการซื้อขายที่ดินในบริเวณนั้น
ภาคตะวันตก
ลักษณะการตั้งถิ่นฐานของคนในภาค
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำที่มีแม่น้ำไหลผ่านหลายสาย
แม่น้ำแม่กลอง
แม่น้ำป่าสัก
แม่น้ำเจ้าพระยา
จึงทำให้บริเวณนี้มีผู้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานกันมาก
แม่น้ำดังกล่าวยังสามารถเดินทางติดต่อค้าขายกับดินแดนอื่นๆ ได้สะดวก
ชุมชนบริเวณภาคกลางเป็นชุมชนขนาดใหญ่ที่มีคูน้ำคันดินล้อมรอบ
เมืองสำคัญทางภาคกลางและภาคตะวันตก ได้แก่
เมืองโบราณนครปฐม จังหวัดนครปฐม
เมืองคูบัว จังหวัดราชบุรี
เมืองพงตึก จังหวัดกาญจนบุรี