Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การย้ายถิ่นฐาน (ราโชภัทร สกุลพรหม) :forbidden: (ภาคเหนือ…
การย้ายถิ่นฐาน (ราโชภัทร สกุลพรหม) :forbidden:
ภาคเหนือ
เป็นที่เหมาะแก่การกสิกรรมโดยเฉพาะการปลูกข้าว
บริเวณหุบเขาเป็นที่ราบลุ่มมีลำน้ำไหลผ่าน
บริเวณภูเขาที่เป็นที่สูง
บริเวณที่เป็นภาคเหนือทั้งหมด มีลักษณะภูมิประเทศที่ประกอบด้วยที่ราบลุ่มตามหุบเขา
และช่องว่างระหว่างเชิงเขา หรือระหว่างนิ้วมือนั้น คือ บริเวณที่ราบลุ่มในหุบเขา ที่มีลำน้ำไหลผ่าน อาจแบ่งบริเวณหุบเขาใหญ่ๆ ออกได้ตามลำน้ำสำคัญๆ โดยเริ่มทางด้านตะวันตกไปตะวันออก
และช่องว่างระหว่างเชิงเขา หรือระหว่างนิ้วมือนั้น คือ บริเวณที่ราบลุ่มในหุบเขา ที่มีลำน้ำไหลผ่าน อาจแบ่งบริเวณหุบเขาใหญ่ๆ ออกได้ตามลำน้ำสำคัญๆ โดยเริ่มทางด้านตะวันตกไปตะวันออก
ลุ่มน้ำวังในเขตจังหวัดลำปาง ลุ่มน้ำยมในเขตจังหวัดแพร่ และลุ่มน้ำน่านในเขตจังหวัดน่าน
ถัดมาทางด้านตะวันออก เป็นบริเวณลุ่มน้ำของลำน้ำที่เป็นสาขาของแม่น้ำโขง
ที่ราบลุ่มน้ำแม่ลาว
แม่กก
แม่วัง
นับตั้งแต่บริเวณเหนือเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ ตาก เพชรบูรณ์ ขึ้นไป เป็นเขตที่ภูมิประเทศเปลี่ยนเป็นบริเวณที่มีภูเขาทอดกันลงมา คล้ายกับนิ้วมือ ที่แผ่อยู่บนฝ่ามือ
บริเวณที่สูงภูเขานั้นมีป่าไม้และพันธุ์ไม้ใหญ่นานาชนิดขึ้นปกคลุม
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนืออยู่ในบริเวณที่ราบสูง ซึ่งเป็นบริเวณภายในที่ไม่มีทางติดต่อกับทะเล มีแต่เทือกเขาล้อมรอบ
บริเวณที่ราบสูงของภาคตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งออกเป็น ๒ แอ่งใหญ่
แอ่งโคราชอยู่ทางใต้
แอ่งสกลนครทางเหนือ
มีสภาพคล้ายแอ่งกระทะ ที่เทลาดจากที่สูงทางตะวันตก ลงสู่ที่ลุ่มต่ำทางด้านตะวันออก ที่มีแม่น้ำโขงเป็นขอบเขต
ภาคใต้
พื้นที่ภาคใต้ แรงงานย้ายถิ่นเข้าภาคใต้ ในปริมาณที่น้อยที่สุดเมื่อเทียบ กับภาคอื่นๆ
มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อาจเป็นผลมาจากภาคใต้เป็นภาค ที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่นำรายได้เข้าประเทศในระดับสูง ได้แก่
ยางพารา
ดีบุก
กิจการประมง
สวนผลไม้
ืการท่องเที่ยว
มีการลงทุนจังหวัดในภาคใต้จำนวน 6 จังหวัดตามแผนการลงทุนของรัฐบาล
แรงงานที่ทำงานในภาคใต้และประชากรที่อาศัยในภาคใต้มีแนวโน้มการย้ายถิ่น ออกเพิ่มขึ้นทั้งที่มีทรัพยากรสมบูรณ์ที่สามารถประกอบอาชีพและสามารถดำรงชีวิตได้
ผู้วิจัยสนใจที่ศึกษาแบบแผนการย้ายถิ่นในภาคใต้เป็นเช่นไร และปัจจัยใดที่ส่งผล ต่อการย้ายถิ่นในภาคใต้
ภาคกลาง
บริเวณที่จัดว่าอยู่ในภาคกลางของประเทศไทยนั้นคือ
ที่ราบลุ่มของลำน้ำปิง ยม น่าน ตอนล่างอยู่ในจังหวัดตาก อุตรดิตถ์ พิษณุโลก เพชรบูรณ์ พิจิตร สุโขทัย และกำแพงเพชร
ความอุดมสมบูรณ์ของที่ราบลุ่มในภาคกลางนี้ เหมาะแก่การเป็นแหล่งปลูกข้าวที่ดี
ทุกๆ ปี แม่น้ำ และลำน้ำหลายสาย จะพัดพาโคลนตะกอนมาทับถมพื้นที่ราบลุ่มในฤดูน้ำ ทำให้เกิดปุ๋ยธรรมชาติ เหมาะกับการเพาะปลูกอย่างค่อนข้างถาวร
ภาคตะวันออก
มีพื้นที่ที่แห้งแล้ง
มีโรงงานอุตสาหกรรมมาก
มีอากาศที่เย็น
ปัญหาการของประชากร
ปัญหาดินและน้ำ
การหารายได้
การเพิ่มของประชากรร้อยละ 0.16
ภาคตะวันตก
ดินขาดสารอาหาร
มีโรงงานอุตสาหกรรมมาก
ไม่เหมาะกับการปลูกพ์ช
สาเหตุการย้ายถิ่นฐานของภาคตะวันตก
ความยากจนของประชาชน