Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การย้ายถิ่นฐานของภาคต่างๆ(ด.ญ.มนัญญา หลอมประโคน)(มีมี่) (ภาคใต้…
การย้ายถิ่นฐานของภาคต่างๆ(ด.ญ.มนัญญา หลอมประโคน)(มีมี่)
ภาคใต้
พื้นที่ภาคใต้ แรงงานย้ายถิ่นเข้าภาคใต้ ในปริมาณที่น้อยที่สุดเมื่อเทียบ กับภาคอื่นๆ
พร้อมทั้งมีการลงทุนจังหวัดในภาคใต้จำนวน 6 จังหวัดตามแผนการลงทุนของรัฐบาล
ขณะเดียวกันประชากรที่อาศัยในภาคใต้มีแนวโน้มการย้ายถิ่น ออกเพิ่มขึ้นทั้งที่มีทรัพยากรสมบูรณ์ที่สามารถประกอบอาชีพและสามารถดำรงชีวิตได้
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การอพยพย้ายถิ่นของแรงงานจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นเรื่องที่พบเห็นกันมายาวนาน
ปี พ.ศ.2504 เมื่อโรงงานอุตสาหกรรมผุดขึ้นเป็นดอกเห็ดในเขตท่าเรือภาคตะวันออกและปริมณฑลของกรุงเทพมหานครต้องการแรงงานราคาถูก
การอพยพย้ายถิ่นของแรงงาน แม้ว่าจะทำให้ได้เม็ดเงินหมุนเวียนคืนกลับมาสู่ชุมชนชนบท แต่ก็ทำให้เกิดปัญหาสังคมหลายรูปแบบตามมา
ภาคตะวันออก
แต่เดิมเป็นการย้ายเฉพาะผู้ที่อาศัยอยู่ในแถบจังหวัดที่ อยู่ทางตะวันออกของภาคกลางไปอยู่ชลบุรีเท่านั้น
อพยพย้ายถิ่นไปอยู่ชลบุรีเช่นเดิมกลับย้ายต่อไปยัง จ.ระยอง จันทบุรี และตราดเพิ่มมากขึ้น
มีการขุดพลอยในแหล่งใหม่เพิ่มขึ้น ปัจจุบันพื้นที่ในเขตระหว่างสัตหีบไปยังระยองซึ่งเป็นเขตการขยายแหล่งอุตสาหกรรมหนัก
ภาคเหนือ
ไม่มีพื้นที่ปลูกพืชในบริเวณต่างๆ
มีอากาศที่หนาวเย็นมากจนเกินไป
มีแต่แหล่งน้ำที่น้อยและแห้งเนื่องจากอากาศหนาว
ภาคตะวันตก
มีอากาศที่แห้งแล้ง
พื้นที่เหล่านั้นไม่มีความอุดมสมบูรณ์
ไม่มีน้ำไว้ใช้เลี้ยงพืช
ภาคกลาง
ส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยที่ราบซึ่งเกิดจากการที่แม่น้ำพัดพาเอาเศษหิน เศษดิน กรวดทราย และตะกอนมาทับถมพอกพูนมานับเป็นเวลาล้าน ๆ ปี
จึงทำให้เกิดการย้ายถิ่นฐานไปที่อื่น