Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การย้ายถิ่นฐานของประชากรเอฟ (ภาคใต้ (ทรัพยากรธรรมชาติที่นำรายได้เข้าประเทศ…
การย้ายถิ่นฐานของประชากรเอฟ
ภาคใต้
พื้นที่ภาคใต้ แรงงานย้ายถิ่นเข้าภาคใต้ ในปริมาณที่น้อยที่สุดเมื่อเทียบ กับภาคอื่นๆ แต่มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อาจเป็นผลมาจากภาคใต้เป็นภาค ที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่นำรายได้เข้าประเทศในระดับสูง
ประชากรที่อาศัยในภาคใต้มีแนวโน้มการย้ายถิ่น ออกเพิ่มขึ้นทั้งที่มีทรัพยากรสมบูรณ์ที่สามารถประกอบอาชีพและสามารถดำรงชีวิตได้ ทำให้ผู้วิจัยสนใจที่ศึกษาแบบแผนการย้ายถิ่นในภาคใต้
ทรัพยากรธรรมชาติที่นำรายได้เข้าประเทศในระดับสูง ได้แก่
การประมง
ดีบุก
สวนผลไม้
ยางพารา
การท่องเที่ยว :fountain_pen:
ประชากรที่เดินข้ามเขตแดนจังหวัดในช่วงปี พ.ศ. 2538-2540 ที่มีอายุ 13-60 ปี
ข้อเสีย
เกิดน้ำท่วมบ่อยครั้งเพราะอยู่ใกล้ทะเล
เกิดสินามิ
ภาคเหนือ
ประชากรในภาคเหนือมีมากเป็นอันดับ 4 รองจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้
จังหวัดที่มีประชากรมากที่สุดคือ
เชียงใหม่
จังหวัดที่มีประชากรน้อยที่สุด
แม่ฮ่องสอน
ข้อเสีย
เกิดไฟไหม้ป่าหลายครั้ง
ถนนเป็นทางเลี้ยวเยอะ
มีภุเขาเป็นจำนวนมาก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จะมีพื้นที่เเห้งเเล้ง
ไม่เหมาะสำหรับการปลูกพืชต่าง
ข้อเสีย
พื้นที่เเห้งเเร้ง
ไม่เหมาะสำหรับการปลูกพืชเมืองหนาว
สาเหตุ
ภาคกลาง
มีมลพิษมาก
ไม่เหมาะสำหรับการปลูกบ้าน
มีรถติดเป็นจำนวนมาก
มีสภาพอากาศเเละพื้นที่การเพาะปลูกน้อย
ข้อเสีย
มีมลพิษมาก
มีรถเป็นจำนวนมาก
การย้ายถิ่นฐานคือ
ปรากฏการณ์การย้ายถิ่นนั้นเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางไปทั่วโลก
ไทยเองก็ต้องเผชิญกับปรากฏการณ์นี้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นการย้ายถิ่นภายในประเทศหรือการย้ายถิ่นระหว่างประเทศ
ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค ได้ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย และหากนับตั้งแต่ประเทศไทยเริ่มใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1