Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินผลการปฏิบัติและสมรรถนะ (วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน…
การประเมินผลการปฏิบัติและสมรรถนะ
ความหมายการประเมินงาน
กระบวนที่เป็้้้นระบบซึ่งถูกพัฒนาขึ้นเพื่อทำการวัดคุณค่าของบุคลากรในการปฏิบัติงานภายในช่วงเวลาที่กำหนด
ความสำคัญของการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ความสำคัญต่อหัวหน้างานหรือผู้บังคับบัญชา
ความสำคัญต่อองค์การ
ความสำคัญต่อบุคลากร
ปัจจัยที่สมควรพิจารณา
วัตถุประสงค์ของการประเมินผล
ผู้ทำหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติงาน
มาตรฐานของการปฏิบัติงาน
หลักการประเมินผลการปฏิบัติงาน
เป็นการประเมินค่าของผลการปฏิบัติงาน
เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของหัวหน้างานทุกคน
เป็นกระบวนการต่อเนื่องที่ต้องกระทำตลอดเวลาตามความเหมาะสม
ต้องมีความเที่ยงตรง และมีความเชื่อถือได้
มีความเข้าใจในหลักการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล
ต้องมีการแจ้งผลลัพท์การประเมิน
เอกสารที่ใช้ประกอบการประเมิน
เอกสารพรรณางาน
บันทึกการปฏิบัติงาน
แผนภูมิองค์การ
ทะเบียนประวัติพนักงาน
วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน
การบันทึกเหตุการณ์ที่สำคัญ
การพิจารณาการปฏิบัติงาน
การตรวจสอบรายการ
การเขียนบันทึกการปฏิบัติงาน
การกระจายตามหลักสถิติ
การประเมินผลโดยกลุ่ม
การจัดลำดับ
การประเมินตามผลงาน
การกำหนดมาตราส่วน
ข้อผิดพลาดที่ควรคำนึง
การใช้ความประทับใจในบางเรื่องเป็นหลัก
การใช้ความรู้สึกมากกว่าเหตุผล
การกำหนดมาตรฐานที่สูงหรือต่ำเกินไป
การเอาตัวเข้าเปรียบเทียบ
การประเมินโดยใช้เหตุการณ์ใกล้ตัว
การให้ความสำคัญกับระยะเวลาในการทำงานหลัก
การประเมินผลโดยมีผลกลางๆ
การมีอคตคิกับลักษณะบางอย่างของกลุ่มบุคคล
การนำผลลัพท์จากการประเมินผลการปฏิบัติงานไปใช้
การนำไปใช้ตามวัตถุประสงค
การเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง
ปรับปรุงการปฏิบัติงาน
การกำหนดค่าตอบแทน
การจ้างงาน
การแจ้งผลการประเมิน
พัฒนา หรือปรับปรุงพนักงาน
ความหมายสมรรถนะ
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคุณลักษณะอื่น ๆ
คุณลักษณะพื้นฐาน
บทบาททางสังคม
ความรู้
อัตมโนทัศน์
ทักษะ
อุปนิสัย
แรงจูงใจ
การประเมินสมรรถนะ
เป็นกระบวนการที่สามารถวัดประเมินได้
เครื่องมือมีความเที่ยง และความเชื่อถือได้
มีวัตถุประสงค์ในการประเมินอย่างชัดเจน
ประเมินอย่างเป็นระบบ
ผู้รับผิดชอบในการประเมินสมรรถนะ
ปนะเมินโดยลูกค้า
ประเมินโดยคณะกรรมการ
ประเมินตนเอง
เพื่อนร่วมงาน
ผู้ใต้บังคับบัญชา
ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น
ประเภทของสมรรถนะในการทำงาน
สมรรถนะตามบทบาทหน้าที่
สมรรถนะด้านการบริหาร
สมรรถนะหลัก
ความรู้ตามสายงาน
ขั้นตอนการกำหนดและพัฒนาระบบสมรรถนะ
ขั้นตอนที่ 3 : การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนา
ขั้นตอนที่ 4 : การให้คำปรึกษาเพื่อพัฒนา
ขั้นตอนที่ 2 : ศึกษารวบรวมข้อมูลปัจจุบันขององค์กร
ขั้นตอนที่ 5 : การรวบรวมและจัดทำพจนานุกรมสมรรถนะ
ขั้นตอนที่ 1 : การเปิดตัวโครงการ
การสื่อสารและการประเมินสมรรถนะข้าราชการ