Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินผลการปฏิบัติงานและสมรรถนะ (วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน (1…
การประเมินผลการปฏิบัติงานและสมรรถนะ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน คือ ระบบที่จัดทำเพื่อหาคุณค่าของบุคคลในแง่ของการปฏิบัติงานที่จะระบุได้ว่า การปฏิบัติงานนั้นได้ผลสูงกว่า หรือต่ำกว่าเงินที่จ่ายให้
วัตถุประสงค์การประเมินผลการปฏิบัติงาน
-สร้างความยุติธรรมในการพิจารณาความดีความชอบ การเลื่อนตำแหน่ง
-เป็นเครื่องมือควบคุมการทำงาน
-เป็นแนวทางในการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร
-ทำให้บุคคลทราบถึงผลการปฏิบัติงานของตน
-จูงใจให้บุคลากรทำงานอย่างเต็มความสามารถ
ปัจจัยที่สมควรพิจารณษในการประเมินผลการปฏิบัติงาน
1.มาตรฐานของการปฏิบัติงาน คุณลักษณะที่ถูกกำหนดขึ้นในรูปแบบขิงปริมาณ หรือคุณภาพของผลงาน
2.ผู้ทำหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติงาน เป็นหน้าที่ของหัวหน้างานโดยตรง
3.วัตถุประสงค์ของการประเมินผล มีจุดมุ่งหมายที่จะพิจารณาผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในปัจจุบัน
หลักการประเมินผลการปฏิบัติงาน
1.ผู้ทำการประเมินผลการปฏิบัติงานต้องมีความเข้าใจในหลักการเพื่อสามารถนำมาใช้ประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงาน
2.การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นกระบวนการต่อเนื่องที่ต้องทำตลอดเวลาตามความเหมาะสม
3.การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นการประเมินค่าของผลการปฏิบัติงาน ไม่ใช่การประเมินค่าบุคคล
4.การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นหน้าที่ของหัวหน้างานทุกคน
5.การประเมินผลการปฏิบัติงานจะต้องมีความเที่ยงตรง
6.การประเมินผลการปฏิบัติงานจะต้องแจ้งผลลัพธ์ของการประเมิน
เอกสารที่ใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน
1.แผนภูมิองค์การ
2.เอกสารพรรณางาน
3.บันทึกการปฏิบัติงาน
4.ทะเบียนประวัติพนักงาน
5.แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน
1.การกำหนดมาตราส่วน
2.การจัดลำดับ
4.การตรวจสอบรายการ
3.การกระจายตามหลักสถิติ
5.การบันทึกเหตุการณ์ที่สำคัญ
6.การพิจารณาการปฏิบัติงาน
7.การเขียนบันทึกการปฏิบัติงาน
8.การประเมินผลโดยกลุ่ม
9.การประเมินตามผลงาน
การนำผลลัพธ์จากการประเมินผลการปฏิบัติงานไปใช้
1.การนำผลไปใช้ตามวัตถุประสงค์
-การกำหนดค่าตอบแทน
-การเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง
-การจ้างงาน
-การปรับปรุงการปฏิบัติงาน
2.การแจ้งผลการประเมิน
สมรรถนะเครื่องมือการบริหารทรัพยากรมนุษย์
1.เป็นเครื่องมือช่วยการแปลงวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัฒนธรรมองค์การ
2.เป็นเครื่องมือในการพัฒนาความสามารถของบุคลากรอย่างมีระบบ
3.เป็นมาตรฐานการแสดงพฤติกรรมที่ดีในการทำงานของบุคลากร
4.เป็นพื้นฐานสำคัญของระบบการบริหารทรัพยากรบุคลลในด้านต่างๆ