Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินผลการปฏิบัติงานและสมรรถนะ (วิธีการ (6.การพิจารณาการปฏิบัติงาน, 7…
การประเมินผลการปฏิบัติงานและสมรรถนะ
ความหมาย
กระบวนการที่เป็นระบบซึ่งถูกพัฒนาขึ้นเพื่อทำการวัดคุณค่าของบุคลากรในการปฏิบัติงานภายในช่วงเวลาที่กำหนดว่าเหมาะสมกับมาตราฐานที่กำหนดและเหมาะสมกับรายได้ที่บุคลากรได้รับจากองค์การหรือไม่ตลอดจนใช้พิจารณาในการเลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้นไป
วัตถุประสงค์
ใช้ประกอบพิจารณาการเปลี่ยนตำแหน่งของบุคลากร
ใช้ประกอบพิจารณาเพื่อการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร
ใช้พิจารณาความเหมาะสมในการปฏิบัติงานในตำแหน่งของบุคลากร
ใช้ประกอบการจดบันทึกข้อมูลส่วนตัวของบุคลากร
ใช้พิจารณาความเหมาะสมในการให้ผลตอบแทนแก่บุคลากร
ใช้ประกอบการบริหารงานในด้านต่างๆ
ประโยชน์
เป็นเครื่องมือในการควบคุมการทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์
สร้างความยุติธรรมในการพิจารณาความดีความชอบ
เป็นแนวทางในการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร
ทำให้บุคลากรทราบถึงผลการปฏิบัติงานของตน
จูงใจให้บัคลากรทำงานอย่างเต็มความสามารถ
ความสำคัญ
ต่อหัวหน้างานหรือบังคับบัญชา
ใช้ประกอบการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพ
ต่อองค์การ
นำผลลัพธ์ที่ได้ไปใช้อย่างยุติธรรม ช่วยในการสร้างขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานให้แก่บุคลากร
ต่อบุคลากร
ใช้ในการปรับปรุงผลการดำเนินงานของตนให้เป็นไปตามมาตราฐานที่องค์การกำหนดไว้
ปัจจัยที่สมควรพิจารณา
ผู้ทำหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติงาน
วัตถุประสงค์ของการประเมินผล
มาตราฐานของการปฏิบัติงาน
หลักการ
ต้องให้ความสนใจกับคุณลักษณะที่สำคัญของแต่ละงานและผลลัพธ์ที่ได้เป็นสำคัญ
เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของหัวหน้างานทุกคน ตลอดจนบุคลากรที่ได้รับมอบหมายจากองค์การ
ต้องกระทำอยู่ตลอดเวลาตามความเหมาะสม เพื่อให้ถูกต้องและเป็นธรรม
ต้องมีความเที่ยงตรงและมีความเชื่อถือได้
ต้องมีความเข้าใจในหลักการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินว่ามีข้อดีข้อเสียและขอบเขตอย่างไร
ต้องมีการแจ้งผลลัพธ์ของการประเมินแก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อ
เอกสารที่ใช้
บันทึกการปฏิบัติงาน
เอกสารพรรณางาน
ทะเบียนประวัติพนักงาน
แผนภูมิองค์การ
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
วิธีการ
6.การพิจารณาการปฏิบัติงาน
7.การเขียนบันทึกการปฏิบัติงาน
5.การบันทึกเหตุการ์ที่สำคัญ
8.การประเมินผลโดยกลุ่ม
4.กาาตรวจสอบรายการ
9.การประเมินผลตามงาน
3.การกระจายตามหลักสถิติ
2.การจัดลำดับ
1.กำหนดมาตราส่วน
การนำไปใช้
การนำไปใช้ตามวัตถุประสงค์
การปรับปรุงการปฏิบัติงาน
การจ้างงาน
การเปลี่ยนตำแหน่ง
การกำหนดค่าตอบแทน
การแจ้งผลการประเมิน
พัฒนาหรือปรับปรุงพนักงาน
สมรรถนะ
คุณลักษณะ
อัตมโนทัศน์
บทบาททางสังคม
ความรู้
ทักษะ
อุปนิสัย
แรงจูงใจ
รูปแบบ
การเขียนเรียงความ
ประเมินโดยการสัมภาษณ์
การประเมินพฤติกรรมจากเหตุการณ์หรือสถานะการที่สำคัญ
การประเมินโดยใช้แบบทดสอบ
ประเมินโดยใช้แบบสอบถาม
การประเมินตนเองและผู้บังคับบัญชา
ประเมินแบบสามร้อยหกสิบองศา
การประเมินโดยผู้บังคับบัญชา
การประเมินแบบศูนย์ทดสอบ
ประเภท
สมรรถนะตามบทบาทหน้าที่
สมรรถนะด้านการบริหาร
สมรรถนะหลัก
ความรู้ตามสบายงาน