Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการชั้นเรียนปฐมวัย 01 (องค์ประกอบการจัดการในชั้นเรียน images (12)…
การจัดการชั้นเรียนปฐมวัย
ความหมายการจัดการในชั้นเรียน
เป็นกระบวนการต่างๆที่ครูวางแผนและเตรียมการล่วงหน้าและนำมาปฏิบัติใช้ตามความจำเป็น ไม่ว่าจะเกี่ยวข้องกับสภาพห้องเรียน พฤติกรรมนักเรียน หรือการสอนของครู โดยคำนึงถึงพัฒนาการรอบด้านของเด็กเล็ก ทั้งนี้เพื่อทำให้ห้องเรียนบรรลุเป้าหมายทางการเรียน
ความสำคัญการจัดการในชั้นเรียน
ต้องมีพฤติกรรมทางสังคมของการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน เช่น การให้ความร่วมมือ การเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม การรับผิดชอบ การรอคอย การทำงานโดยไม่รบกวนผู้อื่น การรู้จักเก็บของเล่นให้เข้าที่ ทั้งหมดนี้ความสำคัญต่อความสำเร็จของโรงเรียน
องค์ประกอบการจัดการในชั้นเรียน
ความเข้าใจงานวิจัยในปัจจุบัน ทฤษฏีการจัดการชั้นเรียน จิตวิทยาพัฒนาการเด็กและจิตวิทยาการศึกษา
ความสัมพันธ์ทางบวกระหว่างครูกับเด็ก และเด็กกับเด็ก ซึ่งจะช่วยให้ครูเข้าใจความต้องการของเด็ก
วิธีการสอนของครู ที่ช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการตอบสนองของเด็กรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
การใช้ระบบและวิธีการจัดการของกลุ่มที่ช่วยให้เด็กมีพฤติกรรมการทำงานที่เกิดประโยชน์สูงสุด
ความสามารถในการแนะแนวละการปรับพฤติกรรมอย่างเหมาะสม
กระบวนการจัดการในชั้นเรียน
การกำหนดสภาพที่พึงประสงค์
การวิเคราะห์สภาพห้องเรียนที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
การเลือกใช้ยุทธวิธีการจัดการในชั้นเรียน
การประเมินประสิทธิภาพการจัดการในชั้นเรียน
วิธีการจัดการในชั้นเรียน
แนวคิดของเวเบอร์
–การใช้อำนาจ
–การข่มขู่
–การให้อิสระ
–การทำตาม “ตำราอาหาร”
–การจัดการเรียนการสอน
-การปรับพฤติกรรม
-การสร้างบรรยากาศทางอารมณ์และสังคม
-กระบวนการกลุ่ม
แนวคิดของเคดแดนส์
–วิธีการจัดการตามุมมองด้านพฤติกรรมศาสตร์เชื่อว่าครูสามารถควบคุมทุกสิ่งที่เกิดขึ้นได้
-จิตวิทยา แนวคิดที่ว่าการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจะเกิดขึ้นได้เมื่อครูเข้าใจสาเหตุที่เด็กประพฤติผิด
-การจัดการกับกลุ่ม ตัวห้องเรียนเองเปรียบเสมือนกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งที่เด็กๆเข้ามามีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมซึ่งถูกปรับแต่งด้วยสภาพความเป็นไปของกลุ่ม
แนวคิดของคุนนิน
–ความรู้เห็นรอบตัว โดยทราบความเคลื่อนไหวของชั้นเรียนตลอดเวลา
-ทำหลายอย่างพร้อมกันได้ โดยสามารถดูแลชั้นเรียนได้ทั่วถึง
-ดำเนินกิจกรรมได้อย่างราบรื่น ทำให้สามารถรักษาระดับความสนใจของเด็กได้โดยตลอด
-มีความหลากหลายในกิจกรรมการสอน ครูสามารถเปลี่ยนแปลงเทคนิคการสอนให้เหมาะสมกับความสนใจและความต้องการของเด็ก