Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการชั้นเรียนปฐมวัย (Early Childhood Classroom Management) …
การจัดการชั้นเรียนปฐมวัย
(Early Childhood Classroom Management)
ความหมายของการจัดการในชั้นเรียน
กระบวนการต่างๆที่ครูวางแผนและเตรียมล่วงหน้า แล้วนำมาปฏิบัติใช้ตามความจำเป็น โดยคำนึงถึงความเหมาะสมที่สอดคล้องกับพัฒนาการรอบด้านของเด็กเล็ก
เด็กเกิดการเรียนรู้เต็มศักยภาพจากสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวย
องค์ประกอบของการจัดการในชั้นเรียน
ความเข้าใจงานวิจัยในปัจจุบัน ทฤษฎีการจัดการในชั้นเรียน จิตวิทยาพัฒนาการเด็ก และจิตวิทยาการศึกษา
2.ความสัมพันธ์ทางบวกระหว่างครูกับครู และเด็กกับเด็ก ซึ่งจะช่วยให้ครูเข้าใจความต้องการของเด็กได้ถูกต้อง
3.วิธีสอนของครูที่ช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้ดีที่สุด
4.การใช้ระบบและวิธีการจัดการของกลุ่มที่ช่วยให้เด็กมีพฤติกรรมการทำงานที่เกิดประโยชน์สูงสุด
5.ความสามารถในการแนะแนวและการปรับพฤติกรรมอย่างเหมาะสม
กระบวนการของการจัดการในชั้นเรียน
ขั้นตอนที่ 1
การกำหนดสภาพที่พึงปรารถนา
การกำหนดสภาพห้องเรียนที่พึงปรารถนาให้ประโยชน์ 2 ประการ คือครูมีทิศทางที่แน่นอน และครูจะมีพฤติกรรมที่มุ่งสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้สามารถประเมินผลได้
ขั้นตอนที่ 2
การวิเคราะห์สภาพห้องเรียนอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
ขั้นตอนที่ 3
การเลือกและใช้ยุทธวิธีการจัดการในชั้นเรียน เมื่อวิเคราะห์สภาพชั้นเรียนอย่างที่เป็นอยู่แล้ว ครูจะต้องเลือกวิธีการอย่างระมัดระวัง และมีประสิทธิภาพสูงสุด
ขั้นตอนที่ 4
การประเมินประสิทธิภาพการจัดการในชั้นเรียน
ครูประเมินผลโดยพิจารณาจากพฤติกรรมของครูและเด็ก ดังนี้
1) พฤติกรรมของครู พิจารณาพฤติกรรมการจัดการชั้นเรียนที่ครูกำลังใช้กับที่ครูต้องการใช้ว่าเป็นไปตามที่คาดหวังหรือไม่
2) พฤติกรรมของเด็ก พิจารณาจากพฤติกรรมของเด็กที่แสดงออกมาในสภาพจริงว่าเป็นไปตามที่หวังไว้หรือไม่
3) ข้อมูลพฤติกรรมของครูและเด็กที่รวบรวมมา 3 แหล่ง คือ ครู เด็ก และบุคคลภายนอก
วิธีการจัดการในชั้นเรียน
วิธีการจัดการในชั้นเรียน ตามแนวคิดของเวบเบอร์
3.การให้อิสระ
4.การทำตาม "ตำราอาหาร"
5.การจัดการเรียนการสอน
6.การปรับพฤติกรรม
2.การข่มขู่
7.การสร้างบรรยากาศ
ทางอารมณ์และสังคม
1.การใช้อำนาจ
8.กระบวนการกลุ่ม
วิธีการจัดการในชั้นเรียน
ตามแนวคิดของชิคเคดแดนส์
1.วิธีการจัดการตามมุมมองด้านพฤติกรรมศาสตร์
ครูสามารถควบคุมทุกสิ่งที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน ด้วยวิธีการเสริมแรง
วิธีการจัดการตามมุมมองด้านจิตวิทยา
การเปลี่ยนพฤติกรรมจะเกิดขึ้นได้ เมื่อครูเข้าใจสาเหตุที่เด็กประพฤติผิดครูต้องหมั่นสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อเด็ก
วิธีการจัดการตามมุมมองด้านการจัดการกับกลุ่ม
วิธีการจัดการชั้นเรียนตามแนวคิดของคุนนิน
ความรู้เห็นรอบตัว
2.ทำหลายอย่างพร้อมกันได้
ดำเนินกิจกรรมได้อย่างราบรื่น
มีความหลากหลายในกิจกรรมการสอน
ความสำคัญของการจัดการในชั้นเรียน
พฤติกรรมทางสังคมของการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน เช่น การให้ความร่วมมือ การเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม การรอคอย การรับผิดชอบ
ครูต้องรู้วิธีจัดการในชั้นเรียนเพื่อช่วยให้เด็กได้เรียนรู้สิ่งเหล่านี้
ครูอนุบาลต้องสวมบทบาทความเป็นผู้นำที่มีคุณภาพ ต้องมีระเบียบวินัย และต้องมีความสามารถในการรักษาสภาวะที่ทำให้มีการเรียนรู้เกิดขึ้น ซึ่งหัวใจสำคัญนำไปสู่ความสำเร็จ คือ วิธีการจัดการในชั้นเรียนที่เหมาะสม