Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินผลการปฏิบัติงานและสมรรรถนะ (วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน (1…
การประเมินผลการปฏิบัติงานและสมรรรถนะ
ความหมายของการประเมินผลการปฏิบัติงานและการประเมินผลงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน หมายถึง กระบวนการที่เป็นระบบ ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นเพื่อทำการวัดคุณค่าของบุคลากรในการปฏิบัติงาน ในช่วงเวลาที่กำหนดว่าเหมาะสมกับมาตรฐาน
การประเมินผลงาน หมายถึง การประเมินค่า ประสิทธิภาพและประสิทธิผล อย่างเป็นระบบ เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงการวางแผนและปฏิบัติงาน
ปัจจัยที่สมควรพิจารณาในการประเมินผลของการปฏิบัติงาน
มาตรฐานของการปฏิบัติงาน
ผู้ทำหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติงาน
วัตถุประสงค์ของการประเมิน
หลักการประเมินการปฏิบัติงาน
1.ผู้ทำการประเมินต้องมีความเข้าใจหลักการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน เพื่อความถูกต้องตามวัตถุประสงค์
2.การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นกระบวนการต่อเนื่องต้องทำอยู่ตลอด
3.การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นการประเมินค่าของผลการปฏิบัติงาน
4.เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของหัวหน้างานทุกคน
5.การประเมินผลการปฏิบัติงานต้องมีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้
6.การประเมินผลการปฏิบัติงานต้องมีการแจ้งผลลัพธ์ของการประเมิน
เอกสารที่ใช้ประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงาน
1.แผนภูมิองค์การ
2.เอกสารพรรณางาน
3.ทะเบียนประวัติพนักงาน
5.แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน
1.กำหนดมาตราส่วน
2.การจัดลำดับ
3.การกระจายตามหลักสถิติ
4.การตรวจสอบรายการ
5.การบันทึกเหตุการณ์ที่สำคัญ
6.การพิจารณาการปฏิบัติงาน
7.การเขียนบันทึกการปฏิบัติงาน
8.การประเมินผลโดยกลุ่ม
9.การประเมินตามผลงาน
การนำผลลัพธ์จากการประเมินผลการปฏิบัติงานมาใช้
1.การนำผลไปใช้ตามวัตถุประสงค์ เช่น กำหนดค่าตอบแทน การเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง การปรับปรุงการปฏิบัติงาน และการจ้างงาน เป็นต้น
2.การแจ้งผลการประเมิน เพื่อให้บุคลากรทราบว่าตนปฏิบัติงานอยู่ในระดับใด ต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาหรือไม่
ข้อผิดพลาดที่ควรคำนึงถึงในการประเมินผลการปฏิบัติงาน
1.ประเมินโดยมีผลกลางๆ
2.ประเมินโดยใช้เหตุการณ์ใกล้ตัว
3.กำหนดมาตรฐานที่สูงหรือต่ำเกินไป
4.ใช้ความประทับใจในบางเรื่องเป็นหลัก
5.ใช้ความรู้สึกมากกว่าเหตุผล
6.การเอาตัวเองเข้าเปรียบเทียบ
7.ให้ความสำคัญกับระยะเวลาในการทำงาน
8.การมีอคติกับลักษณะบางอย่างของกลุ่มบุคคล
สมรรถนะเครื่องมือการบริหารทรัพยากรมนุษย์
สมรรถนะ หมายถึง คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทำให้บุคคลสามารถสร้างงานได้โดดเด่นกว่าเพื่อนร่วมงาน
ควรเปลี่ยนแปลงสมรรถนะเมื่อไหร่
เมื่อองค์การเปลี่ยนแปลงวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ค่านิยมแลัวัฒนธรรม
เมื่อภารกิจ บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ และลักษณะขององค์การเปลี่ยนแปลง
เมื่อบุคลากรสามารถแสดงพฤติกรรมในระดับนั้นๆ ได้สมบูรณ์
การประเมินสมรรถนะ
1.ประเมินโดยผู้บังคับบัญชา
2.การประเมินตนเองและผู้บังคับบัญชา
3.การประเมินโดยใช้แบบทดสอบ
4.การประเมินพฤติกรรมจากเหตุการณ์สำคัญ
5.การเขียนเรียงความ
6.ประเมินโดยสัมภาษณ์
7.ประเมินโดยใช้แบบสอบถาม
8.ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน
9.ประเมินแบบสามร้อยหกสิบองศา
10.ประเมินแบบศูยน์ทดสอบ
วัตถุประสงค์การประเมินผลการปฏิบัติงาน
สร้างความยุติธรรมในการพิจารณาความดีความชอบ และการเลื่อนขั้น
เป็นเครื่องมือการควบคุมการทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์
เป็นแนวทางการฝึกอบรมและพัฒนา
ทำใหเบุคลากรทราบถึงผลการปฏิบัติงานของตน
จูงใจให้บุคลากรทำงานอย่างเต็มความสามารถ