Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการชั้นเรียนปฐมวัย 1343227122 (องค์ประกอบ (1. ความเข้าใจงานวิจัยในปั…
การจัดการชั้นเรียนปฐมวัย
ความหมาย
กระบวนการต่าง ๆ ที่ครูวางแผนและเตรียมการล่วงหน้า แล้วนำมาปฏิบัติใช้ตามความจำเป็น ไม่ว่าจะเกี่ยวข้องกับสภาพห้องเรียน พฤติกรรมนักเรียน หรือการสอนของครู โดยคำนึงถึงความเหมาะสมที่สอดคล้องกับพัฒนาการรอบด้านของเด็กเล็ก
ความสำคัญ
พฤติกรรมทางสังคมของการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน เช่น การให้ความร่วมมือ การเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม การรับผิดชอบ การรอคอย การทำงานโดยไม่รบกวนผู้อื่น การรู้จักเก็บของเล่นของใช้เข้าที่ ทั้งหมดนี้มีส่วนสำคัญต่อความสำเร็จของโรงเรียน ครูต้องรู้วิธีจัดการในชั้นเรียนเพื่อช่วยให้เด็กได้เรียนรู้สิ่งเหล่านี้
องค์ประกอบ
-
2. ความสัมพันธ์ทางบวกระหว่าง ครูกับเด็ก และเด็กกับเด็ก ซึ่งจะช่วยให้ครูเข้าใจความต้องการของเด็กและสามารถตอบสนองได้อย่างถูกต้อง
3.วิธีสอนของครูที่ช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการตอบสนองเด็กเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
-
-
กระบวนการ
-
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์สภาพห้องเรียนอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน (Analyzing Existing Classroom Conditions)
ขั้นตอนที่ 3 การเลือกและใช้ยุทธวิธีการจัดการในชั้นเรียน ( Selecting and Utilizing Managerial Strategies)
-
วิธีการจัดการในห้องเรียน
1. วิธีการจัดการตามมุมมองด้านพฤติกรรมศาสตร์ (Behaviorist Perspective) มีพื้นฐานมาจากความเชื่อที่ว่า ครูสามารถควบคุมทุกสิ่งที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนด้วยวิธีการเสริมแรง (reinforcement)
2. วิธีการจัดการตามมุมมองด้านจิตวิทยา (Psychological Perspective) มีพื้นฐานมาจากแนวคิดที่ว่า การเปลี่ยนพฤติกรรมจะเกิดขึ้นได้ เมื่อครูเข้าใจสาเหตุที่เด็กประพฤติผิด ครูจะต้องให้ความรัก และรับรู้ความต้องการของเด็ก หมั่นสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน เข้าใจกัน
3. วิธีการจัดการตามมุมมองด้านการจัดการกับกลุ่ม (Group Management Perspective) ในมุมมองนี้ ตัวห้องเรียนเองเปรียบเสมือนกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งที่เด็กๆ เข้ามามีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมซึ่งถูกปรับแต่งด้วยสภาพความเป็นไปของกลุ่มในห้องเรียนนั้นๆ