Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการชั้นเรียนปฐมวัย 20150306-1425632788.13-9 (องค์ประกอบของการจัดการช…
การจัดการชั้นเรียนปฐมวัย
ความหมาย
กระบวนการต่างๆที่ครูวางแผนเเละเตรียมการล่วงหน้าแล้วนำมาปฏิบัติใช้ตามความจำเป็น ไม่ว่าจะเกี่ยวข้องกับสภาพห้องเรียน พฤติกรรมนักเรียน หรือการสอนของครู โดยคำนึงถึงความเหมาะสมสอดคล้องกับพัฒนาการรอบด้านของเด็ก
"เด็กเกิดการเรียนรู้เต็มศักยภาพจากสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวย"
ความสำคัญ
พฤติกรรมทางสังคมของการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน เช่น การให้ความร่วมมือ การเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม การรับผิดชอบ การรอคอย เป็นต้น ทั้งหมดนี้มีส่วนสำคัญต่อความสำเร็จของโรงเรียน
ค่านิยมที่ครูและเด็กต่างยอมรับร่วมกันเช่น
กฏของห้องเรียนซึ่งมีทั้งกฏข้อบังคับในการเข้าเรียน
กฏที่สะท้อนให้เห็นสิ่งที่ครูพอใจทำ
กฏที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมเฉพาะ
องค์ประกอบของการจัดการชั้นเรียน
3.วิธีสอนของครูช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้ดีที่สุด ไม่ว่าจะตอบสนองเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
4.การใช้ระบบและวิํธีการจัดการของกลุ่มช่วยให้เด็กมีพฤติกรรมการทำงานที่เกิดประโยชน์สูงสุด
2.ความสัมพันธ์ทางบวกระหว่าง ครูกับเด็ก และเด็กกับเด็ก ช่วยให้ครูเข้าใจความต้องการและตอบสนองได้อย่างถูกต้อง
5.ความสามารถในการแนะแนวและการปรับพฤติกรรมอย่างเหมาะสม
1.ความเข้าใจงานวิจัยในปัจจุบัน ทฤษฎีการจัดการชั้นเรียน จิตวิทยาพัฒนาการเด็ก และจิตวิทยาการศึกษา
กระบวนการของการจัดการในชั้นเรียน
2.การวิเคราะห์สภาพห้องเรียนอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เป็นการเปรียบเทียบและจำแนกระหว่าง 'ห้องเรียนในอุดมคติ" และ"ห้องเรียนในความเป็นจริง" ตามแนวทางดังนี้
3.การเลือกและใช้ยุทธวิธีการจัดการในชั้นเรียน ครูต้องเลือกวิธีการอย่างระมัดระวัง และเป็นวิธีการทีมีประสิทธิภาพสูงสุดตรงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
1.การกำหนดสภาพที่พึงปราถนา คือการทำให้ชั้นเรียนอยู่ในสภาพที่เกิดการเรียนรู้เต็มศักยภาพ เริ่มจากความคิดของครูถึงภาพบรรยากาศที่ครูปราถนาต้องการ
4.การประเมินประสิทธิภาพการจัดการในชั้นเรียน โดยพิจารณาจากพฤติกรรมของครูและเด็กดังนี้
2.พฤติกรรมของเด็ก พิจารณาพฤติกรรมที่เด็กแสดงออกมาเป็นดั่งที่พึงปราถนาหรือไม่
3.ข้อมูลพฤติกรรมของครูและเด็ก ที่รวบรวมมาจาก 3 แหล่ง คือ ครู เด็ก และบุคคลภายนอก
1.พฤติกรรมของครู ประเมินดูว่าวิธีการที่ครูใช้อยู่นั้น เป็นไปตามคาดหวังหรือไม่
วิธีการจัดการในห้องเรียน
แนวคิดของคุนนิน
2.ทำหลายอย่างพร้อมกันได้
3.ดำเนินกิจกรรมได้อย่างราบรื่น
1.ความรู้เห็นรอบตัว
4.มีความหลากหลายในกิจกรรมการสอน
แนวคิดของเวบเบอร์
3.การให้อิสระ
4.การทำตาม "ตำราอาการ"
2.การข่มขู่
5.การจัดการเรียนการสอน
1.การใช้อำนาจ
6.การปรับพฤติกรรม
7.การสร้างบรรยากาศทางอารมณ์และสังคม
8.กระบวนการกลุ่ม
แนวคิดของชิคเคดเเดนส์
2.วิธีการจัดการตามมุมมองด้านจิตวิทยา
3.วิธีการจัดการตามมุมมองด้านการจัดการกับกลุ่ม
1.;วิธีการจัดการตามมุมมองด้านพฤติกรรมศาสตร์