Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภูมิลักษณ์ประเทศไทย (ด.ญ.พรกนก วาลีประโคน) ใบแดง (ภาคเหนือ :fire:…
ภูมิลักษณ์ประเทศไทย (ด.ญ.พรกนก วาลีประโคน) ใบแดง
ภาคเหนือ :fire:
มีลักษณะเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน :explode:
วางตัวในแนวเหนือใต้กับภูเขาขนาดใหญ่ :checkered_flag:
เป็นเขตทีมีน้ำพุร้อนปรากฏอยู่มาก :pen:
มีเทือกเขาสลับแอ่งตอนกลางและตะวันออก :tada:
แผนที่
ลักษณะภูมิประเทศของภาคเหนือ
ทิวเขาแดนลาว เป็นพรมแดนกั้นระหว่างไทยกับพม่า
ทิวเขาหลวงพระบาง เป็นพรมแดนกั้นระหว่างไทยกับลาว
ทรัพยากรดิน
จะมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงต่ำ
เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่สูง มีความลาดชันมาก
พืชที่สำคัญ
เช่น
เมล็ดกาแฟ
สตอเบอรรี่
แม่น้ำ
แม่น้ำในภาคเหนือเป็นแม่น้ำสายสั้น ๆ
เช่น
แม่น้ำปิง
แม่น้ำยม
ป่าไม้
ภาคเหนือเป็นภาคที่มีป่าไม้อุดมสมบูรณ์มากที่สุด
ส่วนใหญ่เป็นป่าดิบเขา ป่าสนเขา
และป่าเบญจพรรณ
ภาคกลาง :<3:
เป็นแหล่งสถานที่ทางธรรมชาติมาก :black_flag:
เป็นแหล่งกำเนิดดินในที่ราบ :star:
แผนที่
ลักษณะภูมิประเทศ
เขตที่ราบภาคกลางตอนบน เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำและที่ราบลูกฟูก (เนินเขาสลับกับที่ราบ)
เขตที่ราบภาคกลางตอนล่าง เป็นที่ราบกว้างที่เกิดจากการทับถมของตะกอน และเกิดเป็นดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา
เขตที่ราบทางตะวันออกและตะวันตก เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำสลับกับลูกฟูก มีภูเขาที่ไม่สูงกระจายอยู่ทั่วไป
แม่น้ำสายสำคัญของภาคกลาง
แม่น้ำเจ้าพระยา เริ่มจากจังหวัดนครสวรรค์ไหลลงสู่ทะเลที่จังหวัดสมุทรปราการ และมีแม่น้ำสายเล็ก ๆ ที่เป็นสาขาคือ แม่น้ำมะขามเฒ่า(แม่น้ำลพบุรี) แม่น้ำน้อย(สุพรรณบุรี) และแม่น้ำนครชัยศรี(ท่าจีน)
แม่น้ำป่าสัก เริ่มจากจังหวัดเลย ไหลมาบรรจบกับแม่น้ำเจ้าพระยาที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แม่น้ำสะแกกรัง เริ่มต้นจากนครสวรรค์และกำแพงเพชร ไหลมาบรวมกับแม่น้ำเจ้าพระยาที่จังหวัดอุทัยธานี
ทรัพยากรดิน
ภาคกลางตอนบนเป็นดินตะกอนเก่าไม่เหมาะสมในการเพาะปลูกเนื่องจากเกิดการจับตัวแข็งในช่วงฤดูแล้ง
ดินที่เหมาะในการเพาะปลูกควรเป็นดินเหนียวท่าจีน ดินเหนียวลพบุรี ดินเหนียวองครักษ์ ดินร่วนกำแพงแสน และดินเหนียวดำกรุงเทพฯ
ทรัพยากรป่าไม้
ภาคกลางมีพื้นที่ของป่าไม้น้อยมาก ส่วนใหญ่พบในภาคกลางตอนบนเป็นป่าเบญจพรรณและป่าดงดิบ
จังหวัดอุทัยธานีจะมีป่าไม้เหลืออยู่มากที่สุด ประมาณ 2,620 ตารางกิโลเมตร
พืชสำคัญ
อ้อย เพาะปลูกในจังหวัดกาญจนบุรี สุพรรณบุรี ลพบุรี ราชบุรี และชัยนาท
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพาะปลูกในจังหวัดลพบุรี สระบุรี กาญจนบุรี และสุพรรณบุรี
มันสำปะหลัง เพาะปลูกในจังหวัดกาญจนบุรี ลพบุรี สุพรรณบุรี ชัยนาท และราชบุรี
ข้าวฟ่าง เพาะปลูกในจังหวัดลพบุรี
ภาคตะวันออก :black_flag:
แผนที่
ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออก
ภาคตะวันออกได้ชื่อว่ามีทิวทัศน์และชายหาดสวยงามแห่งหนึ่งของประเทศ
เขตที่ราบลูกระนาด และภูเขา ได้แก่บริเวณที่อยู่ถัดจากแม่น้ำบางปะกง เข้าไปทางตะวันออก และตะวันออกเฉียงใต้ ภูเขาที่สำคัญ
เขตที่ราบ ได้แก่ บริเวณที่ราบใหญ่ อยู่ทางตอนเหนือของภาค ต่อเนื่องกับที่ราบลุ่มเจ้าพระยาของภาคกลาง
พืชสำคัญ
ป่าไม้
ป่าไม้ของภาคตะวันออกในปัจจุบันถูกทำลายลงไปมาก
ลักษณะป่าไม้ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้ผลัดใบ
แม่น้ำ
แหล่งน้ำที่สำคัญของภาค ได้มาจาก 2 แหล่ง คือ
แหล่งน้ำบนผิวดิน ได้แก่ แม่น้ำสายต่าง ๆ อ่าง เก็บน้ำและเขื่อนต่าง ๆ
แหล่งน้ำใต้ดิน จะมีมากในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำบริเวณอื่น ๆ มีแหล่งน้ำใต้ดินน้อย เพราะลักษณะภูมิประเทศที่เป็นที่ราบลูกฟูก
ทรัพยากรดิน
ภาคตะวันออกเป็นภาคที่ดินไม่ค่อยอุดมสมบูรณ์
ดินบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำ ซึ่งอยู่ตามลุ่มแม่น้ำต่าง ๆ ใช้ในการเพาะปลูกข้าว
ลักษณะภูมิประเทศ
เป็นแหล่งต้นน้ำของภาคตะวันออก
เป็นพื้นที่ป่าไม้สำคัญ
เป็นแหล่งสนับสนุนตะกอนทราย
ภาคตะวันตก
เป็นแหล่งสนับสนุนสายน้ำที่ราบภาคกลาง :explode:
เป็นแหล่งหินตัด :lock:
แผนที่
ลักษณะภูมิประเทศภาคตะวันตก
ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาสลับกับหุบเขา
เนื่องจากการกัดเซาะของแม่น้ำลำธาร
แม่น้ำที่สำคัญของภาคตะวันตก
แม่น้ำแม่กลอง เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำแควใหญ่กับแควน้อย
แม่น้ำแควใหญ่ หรือแม่น้ำศรีสวัสดิ์ มีต้นน้ำอยู่ที่จังหวัดกาญจนบุรี
แม่น้ำเมย เป็นพรมแดนกั้นเขตแดนไทย-พม่า ต้นน้ำอยู่ที่ประเทศพม่า
ทรัพยากรดิน
ภาคตะวันตกพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตภูเขาสูงและมีความลาดชัน
ดินจึงมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำไม่เหมาะในการเพาะปลูก
ทรัพยากรป่าไม้
ภาคตะวันตกมีพื้นที่ป่าไม้มากเป็นอันดับ 2 รองจากภาคเหนือ
พื้นที่ป่าไม้ส่วนใหญ่เป็นป่าดงดิบ และป่าเบญจพรรณ
จังหวัดที่มีป่าไม้มากที่สุดคือ กาญจนบุรีและตาก
พืชสำคัญ
ปลูกข้าวโพด
ปลูกซ่อมข้าวนาปี
ภาคใต้
แหล่งรวมแร่ดีบุก :warning:
เป็นที่ราบมีชายฝั่งทะเลแคบ :recycle:
แผนที่
เป็นแหล่งทะเลน้ำเค็ม :confetti_ball:
เป็นแนวปะทะเมฆฝนทางธรรมชาติ
ลักษณะภูมิประเทศ
ภาคใต้มีพื้นที่ประมาณ 70,715 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 14 จังหวัด
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก ได้แก่ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ได้แก่ ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง สตูล
แม่น้ำที่สำคัญของภาค
แม่น้ำของภาคใต้เป็นสายสั้น ๆ เนื่องจากมีพื้นที่น้อย
ไหลลงสู่อ่าวไทย เช่น แม่น้ำชุมพร แม่น้ำปัตตานี แม่น้ำตาปี แม่น้ำสายบุรี
ทรัพยากรดิน
ภาคใต้ส่วนใหญ่เป็นดินปนทราย
ส่วนบริเวณที่ราบลุ่มต่ำ (พรุ) มีน้ำท่วมขังไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้
ทรัพยากรป่าไม้
พื้นที่ป่าไม้ส่วนใหญ่ในภาคใต้เป็นป่าดิบชื้นตามเทือกเขา และป่าชายเลน
จังหวัดที่ป่าไม้มากสุดคือ สุราษฎร์ธานี ซึ่งเป็นป่าแพะ ป่าโคก ขึ้นปะปนกับทุ่งหญ้าสะวันนา
พืชที่สำคัญ
สวนยางพารา
สับปะรดผลสด
ข้าวโพดหวานลูกผสม
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ :red_cross:
ลักษณะภูมิประเทศ
เป็นที่ราบสูงเกิดจากการยกตัวของแผ่นดิน 2 ด้าน
มีความลาดเอียงไปทางตะวันออก
แม่น้ำสำคัญ
แม่น้ำมูล
มีความยาวประมาณ 641 กิโลเมตร เป็นแม่น้ำสายสำคัญของอีสานตอนล่าง ต้นน้ำอยู่ที่ทิวเขาสันกำแพง แล้วไหลลงสู่แม่น้ำโขงที่จังหวัดอุบลราชธานี
เนื่องจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นดินปนทรายไม่สามารถอุ้มน้ำได้ จึงทำให้ขาดแคลนน้ำเป็นสำคัญ จึงต้องอาศัยการชลประทานเข้ามาช่วยมีการสร้างเขื่อนหรืออ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่เพื่อเก็บกักน้ำ
แม่น้ำชี
มีความยาวประมาณ 765 กิโลเมตร เป็นแม่น้ำสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย **มีต้นกำเนิดที่ทิวเขาเพชรบูรณ์ และไหลไปรวมกับแม่น้ำมูลที่จังหวัดอุบลราชธานี
ทรัพยากรดิน
ดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นดินทรายและขาดธาตุอาหาร ใต้ดินมีเกลือหินทำให้ดินเค็มและแห้ง
ป่าไม้
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นภาคที่มีป่าไม้เหลือน้อยที่สุด ส่วนใหญ่จะเป็นป่าไม้ประเภทป่าแดง ป่าโคก ป่าแพะ หรือป่าเต็งรัง
พืชสำคัญ
ปลุกข้าวไว้กิน
ปลูกฝ้ายไว้ทอผ้า
เลี้ยงไหมไว้ท่อผ้า