Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาณาจักรธนบุรี จิราวรรณ/คลอเดียร์ (ประวัติพระเจ้าตากสินมหาราช…
อาณาจักรธนบุรี จิราวรรณ/คลอเดียร์
ประวัติอาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรของคนไทยในช่วงเวลาสั้น ๆ ระหว่าง พ.ศ. 2310 – 2325ระยะเวลา 15 ปี
การกอบกู้เอกราช
ในระหว่างสงครามครามเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระยาตากได้ถอนตัวจากการป้องกันพระนครพร้อมกับทหารจำนวนหนึ่ง
การรวมชาติและการขยายตัว
ครั้นเมื่อพระเจ้ามังระแห่งอาณาจักรพม่าทรงทราบข่าวเรื่องการกอบกู้เอกราชของไทย
การสิ้นสุด
กรุงธนบุรี มีอายุเกือบ 15 ปี ก็เกิดเหตุจลาจลในปลายรัชกาลของ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชก็คือ พระยาสรรค์ได้ตั้งตัวเป็นกบฎ
การปกครอง
การปกครองส่วนกลาง
สมุหนายก
ซึ่งมีด้วยกัน4กรม
กรมเวียง
นครบาล มีพระยายมราชทำหน้าที่ดูแล และ รักษาความสงบเรียบร้อยภายในพระนคร
กรมวัง
ธรรมาธิกรณ์ มีพระยาธรรมาธิกรณ์ ทำหน้าที่ดูแลความสงบเรียบร้อยในเขตพระราชฐาน
กรมคลัง
โกษาธิบดี มีพระยาโกษาธิบดี ทำหน้าที่ดูแลการซื้อขายสินค้า ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้ดูแลหัวเมืองฝ่ายตะวันออกด้วย
กรมนา
เกษตราธิการ มีพระยาพลเทพ ทำหน้าที่ดูแลการเกษตรกรรม หรือ การประกอบอาชีพของประชากร
สมุหพระกลาโหม
การปกครองส่วนภูมิภาค
ซึ่งมีดังนี้
หัวเมืองชั้นใน จะมีผู้รั้งเมือง
เป็นผู้ปกครอง จะอยู่รอบๆไม่ไกลจากราชธานี
เมืองพระยามหานคร
จะแบ่งออกได้เป็น เมืองเอก โท ตรี จัตวา มีเจ้าเมืองเป็นผู้ปกครอง
เมืองประเทศราช
คือเมืองที่จะต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาให้กรุงธนบุรี
นครศรีธรรมราช เชียงแสน เชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน พะเยา แพร่ น่าน ปัตตานี ไทรบุรี ตรังกานู มะริด ตะนาวศรี พุทไธมาศ พนมเปญ จำปาศักดิ์ หลวงพระบาง และ เวียงจันทน์ ฯลฯ
เศรษฐกิจ
ช่วงต้นรัชกาล สภาพบ้านเมืองเสียหายจากการสงครามอย่างหนัก เกิดทุพภิกขภัยครั้งร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย[13] เนื่องจากขาดการทำนามานาน ราคาข้าวในอาณาจักรสูงเกือบตลอดรัชกาล ก่อนจะค่อย ๆ ลดลงในตอนปลายรัชกาล จะมีเพิ่มสูงขึ้นบ้างก็ในปี พ.ศ. 2312 ที่เกิดหนูระบาด[14] สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงสละทรัพย์ส่วนพระองค์ซื้อข้าวมาให้แก่ราษฎรทั้งหลาย
สังคม
มีการแบ่งชนชั้นออกเป็น
พระมหากษัตริย์
พระบรมวงศานุวงศ์
ขุนนาง
ไพร่
ทาส
วรรณกรรม
บทละครเรื่องรามเกียรติ์
โคลงสี่สุภาพ
สามก๊ก
ประวัติพระเจ้าตากสินมหาราช
พระเจ้าตากสินมหาราชครองราช15 ปี
พระเจ้าตากสินมหาราชมีเชื่อสายจีน
บิดาเป็นชาวจีนแต้จิ๋ว
พระราชมารดา มีนามว่านกเอียง
(ภายหลังเป็นกรมพระเทพามาตย์)