Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาณาจักรธนบุรี อิง พิชชาสินี ลักษมีเศษฐ (การรวมชาติและการขยายตัว…
อาณาจักรธนบุรี
อิง
พิชชาสินี ลักษมีเศษฐ
การกอบกู้เอกราช
เมื่อครั้งสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีรับราชการเป็นพระยาตาก
ในระหว่างสงครามครั้งที่2
พระยาตากจึงนำกำลังที่รวบรวมประมาณ 5,000 คน
ตีเมือง ธนบุรีและอยุธยาคืนจากข้าศึก เสร็จแล้วจึงสถาปนาตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์
การรวมชาติและการขยายตัว
พระเจ้ามังระแห่งอาณาจักรพม่าทรงทราบข่าวเรื่องการกอบกู้เอกราชของไทย
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจึงโปรดให้จัดเตรียมกำลัง
เพื่อทำลายคู่แข่งทางการเมือง
ในปี พ.ศ. 2312 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงมีศุภอักษรไปยังสมเด็จพระนารายณ์ราชา
การสิ้นสุด
หลักฐานส่วนใหญ่เกิดเหตุจลาจลในปลายรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
คือ พระยาสรรค์ได้ตั้งตัวเป็นกบฏ
สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
การปกครอง
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
การปกครองส่วนกลาง
มีอัครมหาเสนาบดีตำแหน่ง " เจ้าพระยา " จำนวน 2 ท่าน
สมุหนายก
เป็นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรือน เป็นผู้ดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือ
สมุหพระกลาโหม
เป็นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายทหาร
เป็นผู้ดูแลหัวเมืองฝ่ายใต้ทั้งปวง
การปกครองส่วนภูมิภาค
หัวเมืองชั้นใน
เมืองพระยามหานคร
เมืองประเทศราช
เศรษฐกิจ
ช่วงต้นรัชกาล สภาพบ้านเมืองเสียหายจากการสงครามอย่างหนัก
เกิดทุพภิกขภัยครั้งร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย
พระองค์ยังได้ทรงทำนุบำรุงการค้าขายทางเรือกับต่างชาติ
โดยพระองค์ได้ทรงพยายามผูกไมตรีกับจีนเพื่อที่จะให้เกิดประโยชน์ทางการค้ามากยิ่งขึ้น
ผลดีประการหนึ่งของสงครามคราวเสียกรุง
คือมีผู้คนอพยพมาสร้างความเจริญแก่ท้องที่อื่นให้ดีขึ้นกว่าสมัยอยุธยามาก
สังคม
สภาพสังคมไทยสมัยกรุงธนบุรี มีลักษณะคล้ายคลึงกับสมัยอยุธยา คือมีการแบ่งชนชั้นออก
ออกเป็น5อย่าง
2พระบรมวงศานุวงศ์
1พระมหากษัตริย์
3ขุนนาง
4ไพร่
5 ทาส
บ้านเมืองแตกแยก
เมื่อพระเจ้ากรุงธนบุรีได้รวบรวมอาณาจักรเป็นปึกแผ่น
เพราะการล่มสลายของอาณาจักรอยุธยา