Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาณาจักรธนบุรี(ด.ญ.ธันยพร ปานะโปย ชื่อเล่นเปตอง เลขที่23) (การสถาปนาธนบุรี…
อาณาจักรธนบุรี(ด.ญ.ธันยพร ปานะโปย ชื่อเล่นเปตอง เลขที่23)
การกอบกู้เอกราช
ราวปี พ.ศ. 2309 ก่อนเสียกรุง พระยาตากได้นำทหารในบังคับบัญชาตีฝ่าวงล้อมของกองทัพพม่าไปทางด้านทิศตะวันออกของกรุงศรีอยุธยา
รวบรวมกองกำลังของเจ้าตาก เพื่อขับไล่กองทัพพม่าที่ยังคงหลงเหลืออยู่ในกรุงศรีอยุธยา
เคลื่อนพลกลับไปยังกรุงศรีอยุธยาทางด้านปากแม่น้ำเจ้าพระยา เพื่อทำการขับไล่ทหารพม่าที่ยังคงเหลืออยู่ออกไปได้สำเร็จ
การสถาปนาธนบุรี
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกอบกู้เอกราชสำเร็จในปี พ.ศ. 2310จึงทรงตัดสินพระทัยสร้าง ราชธานีใหม่ขึ้นที่เมืองธนบุรี เนื่องจากเมืองธนบุรีมีชัยภูมิที่ดี เป็นเมืองหน้าด่านชายทะเล
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจึงโปรดเกล้าฯ ให้ขยายเมืองไปทางทิศเหนือจนจรดคลองบางกอกน้อย พร้อมกับสร้างกำแพงเมืองตามแนวคลองขุดใหม่มีชื่อเรียกเป็นตอนๆ
คลองบ้านช่างหล่อ
คลองบ้านหม้อ
คลองบ้านขมิ้น
คลองวัดท้ายตลาด
ส่วนทางทิศตะวันออกขยายไปจรดคลองคูเมืองที่ขุดขึ้นใหม่ (ปัจจุบันเรียกว่า”คลองหลอด”)
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงย้ายราชธานีจากฝั่งตะวันตก มายังฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ทำให้พระราชวังกรุงธนบุรีว่างลง
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
ด้านการเมืองการปกครอง
การปกครองส่วนกลาง
ฝ่ายทหาร คือ สมุหกลาโหม
พระโกษาธิบดี(กรมคลัง)
และพระเกษตราธิการ(กรมนา)
พระธรรมาธิกรณ์(กรมวัง)
นครบาล(กรมเมือง)
ฝ่ายพลเรือน คือ สมุหนายก
การปกครองส่วนภูมิภาค
หัวเมืองชั้นนอก
เป็นเมืองขนาดใหญ่และอยู่ห่างไกลจากราชธานีออกไปแบ่งออกเป็นหัวเมืองเอก โท ตรี ตามลำดับความสำคัญ
หัวเมืองประเทศราช
เป็นเมืองต่างชาติต่างภาษาให้เจ้านายปกครองกันเองแต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวาย ได้แก่ ลาว เขมร และเชียงใหม่
หัวเมืองชั้นใน
เป็นเมืองขนาดเล็กอยู่รายรอบราชธานี เจ้าเมืองเรียกว่า “ผู้รั้ง”
ด้านเศรษฐกิจ
การซื้อข้าวสารจากพ่อค้าชาวต่างชาติ นำมาแจกจ่ายให้ราษฏรเพราะขาดแคลนข้าวปลาอาหาร
การเกณฑ์ข้าราชการทำนาปรัง (ทำนานอกฤดูกาล)และประกาศให้ราษฏรช่วยกันกำจัดหนูในนา เพราะภัยสงครามซ้ำเกิดการแพร่ระบาดของหนูนาออกมา
การเพิ่มพื้นที่ปลูกข้าวใกล้พระนคร โดยปรับปรุงพื้นที่ที่เคยเป็นป่าให้เป็นท้องนา
ด้านสังคม
โครงสร้างทางสังคมไทยสมัยธนบุรีประกอบด้วยชนชั้นต่างๆ ได้แก่
ไพร่ ได้แก่ คนธรรมดาสามัญที่เป็นชายฉกรรจ์ ส่วนเด็ก ผู้หญิงหรือคนชราถือเป็นบริวารของไพร่
พระบรมวงศานุวงศ์ ได้แก่ ราชวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ บรรดาพระราชโอรสและพระราชธิดา
พระสงฆ์ เป็นผู้สืบทอดพระพุทธศาสนา และเป็นผู้อบรมสั่งสอนคนในสังคมให้เป็นคนดี
พระมหากษัตริย์ เป็นผู้ที่มีพระราชอำนาจสูงสุดในแผ่นดิน
ทาส หมายถึง บุคคลที่มิได้เป็นไทแก่ตนเองโดยสิ้นเชิง
ด้านวัฒนะธรรม
ความเจริญรุ่งเรืองด้านศิลปแขนงต่างๆ ในสมัยธนบุรีไม่ปรากฏเด่นชัดนัก
งานสถาปัตยกรรม
งานวรรณกรรม ได้แก่ รามเกียรติ์ (พระราชนิพนธ์บางตอนในสมเด็จพระเจ้าตากสิน),ลิลิตเพชรมงกุฏ (หลวงสรวิชิต)