Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาณาจักรธนบุรี (ชาลิสา คงทันดี) (การกอบกู้เอกราช :smiley:…
อาณาจักรธนบุรี
(ชาลิสา คงทันดี)
การกอบกู้เอกราช :smiley:
นับเป็นเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ไทย ซึ่งเป็นการรวบรวมกองกำลังของเจ้าตาก เพื่อขับไล่กองทัพพม่าที่ยังคงหลงเหลืออยู่ในกรุงศรีอยุธยา
ก่อนเสียกรุง พระยาตากได้นำทหารในบังคับบัญชาตีฝ่าวงล้อมของกองทัพพม่าไปทางด้านทิศตะวันออกของกรุงศรีอยุธยา เพื่อรวบรวมผู้คนและยุทธปัจจัยต่าง ๆ มาสู้รบกับกองทัพพม่าอีกครั้ง
การยอมรับอำนาจจากเจ้าเมืองต่างๆ
ในวันเสาร์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2310 ครั้นถึงเวลา 19.00 น. เจ้าตากจึงได้สั่งให้ทหารไทยและจีนลอบเข้าไปอยู่ตามสถานที่ที่ได้วางแผนไว้แล้ว ให้คอยฟังสัญญาณเข้าตีเมืองพร้อมกัน
เจ้าตากเดินทัพจากระยองผ่านแกลงเข้าบางกระจะ มุ่งยึดจันทบุรี เจ้าเมืองจันทบุรีไม่ยอมสวามิภักดิ์ เจ้าตากต้องการยึดเมืองจันทบุรีไว้เป็นที่มั่นเพื่อรวบรวมกำลังมาตีพม่า จึงสั่งทหารทุกคนว่า "เราจะตีเมืองจันทบุรีในค่ำวันนี้ เมื่อกองทัพหุงข้าวเสร็จแล้ว ทั้งนายไพร่ให้เททิ้งอาหารที่เหลือและต่อยหม้อเสียให้หมดถ้าแพ้จะอดข้าว"
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
การปกครองส่วนกลางกรุงธนบุรีเป็นศูนย์กลาง มีอัครมหาเสนาบดี ตำแหน่งเจ้าพระยาจำนวน 2 ท่าน ได้แก่
สมุหนายกเป็นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรือนเป็นผู้ดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือทั้งในราชการฝ่ายทหารและพลเรือนในฐานะเจ้าเสนาบดีกรมมหาดไทยผู้เป็นจะมียศเป็นเจ้าพระยาจักรีศรีองครักษ์
สมุหพระกลาโหมเป็นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายทหารเป็นผู้ดูแลหัวเมืองฝ่ายใต้ทั้งปวงยศนั้นก็จะมีเจ้าพระยามหาเสนา
ส่วนจตุสดมภ์มีจำนวน4กรมได้แก่
กรมเวียงหรือนครบาลมีพระยายมราชทำหน้าที่ดูแลและรักษาความสงบเรียบร้อยภายในพระนคร
กรมวังหรือธรรมาธิกรณ์มีพระยาธรรมาธิกรณ์ทำหน้าที่ดูแลความสงบเรียบร้อยในเขตพระราชฐาน
กรมคลังหรือโกษาธิบดี มีพระยาโกษาธิบดีทำหน้าที่ดูแลการซื้อขายสินค้าภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้ดูแลหัวเมืองฝ่ายตะวันออกด้วย
กรมนาหรือเกษตราธิการมีพระยาพลเทพทำหน้าที่ดูแลการเกษตรกรรม หรือการประกอบอาชีพของประชากร
การปกครองส่วนภูมิภาค
เศรษฐกิจ
ช่วงต้นรัชกาล สภาพบ้านเมืองเสียหายจากการสงครามอย่างหนัก เกิดทุพภิกขภัยครั้งร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ไทยเนื่องจากขาดการทำนามานาน ราคาข้าวในอาณาจักรสูงเกือบตลอดรัชกาล
นอกจากนี้พระองค์ยังได้ทรงทำนุบำรุงการค้าขายทางเรือกับต่างชาติ เนื่องจากไม่อาจพึ่งรายได้จากภาษีอากรจากผู้คนที่ยังคงตั้งตัวไม่ได้ อีกทั้งการส่งเสริมการขายสินค้าพื้นเมือง
การสถาปนาธนบุรี
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจึงโปรดเกล้าฯ ให้ขยายเมืองไปทางทิศเหนือจนจรดคลองบางกอกน้อย พร้อมกับสร้างกำแพงเมืองตามแนวคลองขุดใหม่มีชื่อเรียกเป็นตอนๆ
คลองบ้านขมิ้น
คลองวัดท้ายตลาด
คลองบ้านช่างหล่อ
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงย้ายราชธานีจากฝั่งตะวันตก มายังฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ทำให้พระราชวังกรุงธนบุรีว่างลง
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกอบกู้เอกราชสำเร็จในปี พ.ศ. 2310จึงทรงตัดสินพระทัยสร้าง ราชธานีใหม่ขึ้นที่เมืองธนบุรี เนื่องจากเมืองธนบุรีมีชัยภูมิที่ดี เป็นเมืองหน้าด่านชายทะเล