Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:!:อาณาจักรธนบุรี ด.ช. ทินกฤต พินทุไพศิษฎ์วงศ์ [ไอซ์]:!:…
:!:อาณาจักรธนบุรี ด.ช. ทินกฤต พินทุไพศิษฎ์วงศ์ [ไอซ์]:!:
การกอบกู้เอกราชและการสถาปนาธนบุรี
ปัจจัยที่ทำให้การกอบกู้เอกราชได้คือ
1] กองกำลังมีเพิ่มมากขึ้น
มีทหารมาก ทำให้การต่อสู้กับพม่านั้นง่ายมากขึ้น
มีการรวบรวมกองกำลังจากคนในท้องถิ่นต่างๆ ทำให้มีกองทัพเยอะมากขึ้น
2] การยอมรับอำนาจจากเจ้าเมืองต่างๆ
1.ในตอนแรกกองทัพของพระยาตาก ถูกต่อต้านจากเมืองอื่นๆ
2.พระตากไม่ย่อท้อจึงหาวิธีการแก้ปัญหา
3.พระตากได้ชักชวนให้เจ้าเมืองและพรรคพวกต่างๆมาเป็นกองทัพที่ระยอง
4.พวกคนอื่นๆได้ชักชวนเจ้าเมืองจันทบุรีให้ยอมเข้าเป็นพรรคพวก แต่เจ้าเมืองจันทบุรีกลับส่งทหารมาโจมตี
5.แต่ยังไงก็สามารถยึดเมืองจันทบุรีได้
การกอบกู้เอกราชและการสถาปนาธนบุรี
ราวปี พ.ศ. 2309 ก่อนเสียกรุง พระยาตากได้นำทหารในบังคับบัญชาตีฝ่าวงล้อมของกองทัพพม่าไปทางด้านทิศตะวันออกของกรุงศรีอยุธยา
เพื่อรวบรวมผู้คนและยุทธปัจจัยต่าง ๆ มาสู้รบกับกองทัพพม่าอีกครั้ง ในระหว่างนั้นยังได้ตั้งตนเป็นเจ้าเมืองระยอง
เมื่อ เจ้าตาก เตรียมกำลังรบจนพร้อมสรรพแล้ว จึงได้เคลื่อนพลกลับไปยังกรุงศรีอยุธยาทางด้านปากแม่น้ำเจ้าพระยา เพื่อทำการขับไล่ทหารพม่าที่ยังคงเหลืออยู่ออกไปได้สำเร็จ
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีในด้านต่าง
ด้านการเมืองการปกครอง
1.การปกครองส่วนกลาง
ประกอบไปด้วย อัครมหาเสนาบดี ซึ่งเป็นที่ปรึษาของพระมหากษัตริย์ 2 ตำแหน่ง คือ
สมุหนายก
สมุหาพระกลาโหม
แบ่งการปกครอง ออกเป็น4 กรม [จตุสดภ์] ได้แก่
เสนาบดีกรมเวียง : ทำหน้าที่ดูแลความสงบสุขทั่วไปภายในราชธานี
เสนาบดีกรมวัง : ทำหน้าที่เกี่ยวกับราขสำนัก และพระมหากษัตริย์
เสนาบดีกรมคลัง : ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเก็บภาษีอากรการค้างกับต่างชาติและการติดต่อกับต่างประเทศ
เสนาบดีกรมนา : ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเกษตรและการเก็บภาษีอากรภายในประเทศ
2.การปกครองหัวเมือง
แบ่งการปกครองออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
1.หัวเมืองชั้นใน หรือ เมืองจัตวา คือ เมืองที่อยู่รอบๆเมืองหลวง ผู้ปกครองเมือง เรียกว่า ผู้รั้งเมือง
2.หัวเมืองชั้นนอกหรือเมืองพระยามหานคร ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากเมืองหลวงออกไป
3.การปกครองหัวเมืองประเทศราช ในสมัยธนบุรีมีเมืองประเทศราช ได้แก่
กัมพู หลวงพระบาง เชียงใหม่ นครศรีธรรมราช
ด้านเศรษฐกิจ
1.ตอนแรกเศรษฐกิจของบ้านเมืองลำบาก ขาดแคลนอาหาร
3.ทำให้มีพ่อค้าเข้ามาค้าขายในกรุงธนบุรีเพิ่มมากขึ้น
2.จึงทำให้พระองค์ทรงแก้ปัญหาโดยการสละพระราชทรัพย์ส่วนองค์ ซื้อข้าวแล้วแจกคนอื่นๆ
ด้านสังคม
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงโปรดให้ฟื้นฟูสังคมดังนี้
สถานภาพของบุคคลในสังคมธนบุรี
มีการจัดลำดับชั้นของคนตามระบบศักดินาแบบอยุธยา
ชนชั้นผู้อยู่ใต้ในการปกครอง
กฎหมายและศาล
เมื่อกรุงศรีอยุธยาได้ถูกทำลาย ทำให้เกิดความเสียหายทั้งด้านทรัพย์และผู้คน
สมเด็จพระตากสินมหาราชได้รวบรวมกฎหมายสมัยอยุธยา เพื่อตัดสินคดีความ
ด้านวัฒนธรรม
การฟื้นฟูวัฒนธรรมช่วยให้บ้านเมืองมีความมั่นคง พระเจ้าตากทรงฟื้นฟูวัฒธรรมในด้านต่างๆ ดังนี้
1.ศาสนา
พระเจ้าตาก ทรงให้ความสำคัญในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา
เพื่อเป็นหลักประพฤติปฏิบัติของคนในสังคม
2.ด้านศิลปะและวรรณกรรม
พระเจ้าตาก ทรงส่งเสริมการละครเพื่อบำรุงขวัญประชาชน
ในรัชกาลของพระองค์มีงานครั้งใหญ่
ภูมิปัญญาไทยสมัยธนบุรี
ปัจจัยสำคัญ
การรับอิทธิพลด้านภูมิปัญญาและวัฒนธรรมสืบทอดมาจากอยุธยา
การรับอิทธิพลจากอารยธรรมตะวันตก มีผลต่อภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรี
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยในการพิจารณาทำเลที่ตั้งของราชธานี
1.ริมแม่น้ำและอยู่ใกล้ทะเล การที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงเลือกชัยภูมิให้เมืองธนบุรีเป็นราชธานีแห่งใหม่ของไทยเพื่อป้องกันมิให้พม่าโจมตีได้
2.เพราะแถบนี้น้ำลึก ถ้าข้าศึกยกทัพมาทางบกไม่มีทัพเรือเป็นกำลังด้วยแล้วยากที่จะเข้ามาตีกรุงธนบุรีได้ ประกอบกับธนบุรีมีป้อมปราการมาตั้งแต่สมัยอยุธยา เป็นเมืองขนาดย่อม ทัพบกและทัพเรือของธนบุรี
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยในการปรับตัวเพื่อแก้ปัญหาการดำรงชีวิต
พระองค์ทรงให้บรรดาข้าราชการทั้งผู้ใหญ่และผู้น้อยหันไปทำนาเพิ่มปีละ 2 ครั้ง ทั้งนาปี
ให้ขุดคูเมืองทั้งสองฟากซึ่งเดิมเป็นสวนปลูกผักผลไม้ให้ขุดออกเป็นที่ท้องนา