Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาณาจักรธนบุรี (ธัญวัลย์) (การกอบกู้เอกราชเเละการสถาปนาธนบุรี…
อาณาจักรธนบุรี (ธัญวัลย์)
การกอบกู้เอกราชเเละการสถาปนาธนบุรี
หลังจากที่พม่ายึดกรุงศรีอยุธยาในพ.ศ.2310
ผู้นำท้องถิ่นต่างๆได้รวบรวมคนไทยที่หนีไปที่ต่างๆกลับมารวมตัวกัน
พระยาตาก(สิน)จึงได้รวบรวมกำลังพลไปตีพม่าจนได้กรุงศรีอยุธยากลับมา
หลังจากนั้นราษฎรจึงพร้อมใจอัญเชิญพระองค์ขึ้นครองราชย์
และตีได้เมืองจันทบุรีและตราด เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2310
กองกำลังมีเพิ่มมากขึ้น
พระยาตากมีฝีมือด้านการรบจึงมีชื่อเสียงเลื่องลือทำให้ทีผู้คนมาสมัครเป็นพรรคพวกจำนวนมาก
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงเลือกกรุงธนบุรีเป็นเมืองหลวงเเทนกรุงศรีอยุธยา
กรุงศีอยุธยาได้รับความเสียหายจากสงครามจนยากที่จะซ่อมเเซม
สภาพเเวดล้อมทางธรรมชาติของกรุงธนบุรีคล้ายกับกรุงศรีอยุธยา(อุดมสมบูรณ์)
มีป้อมปราการที่มั่นคงแข็งแรง คือ ป้อมวิไชยประสิทธิ์ และ
ป้อมวิไชยเยนทร์ใช้ป้องกันข้าศึกได้ดี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีในด้านต่างๆ
ด้านการเมืองการปกครอง
การปกครองส่วนกลาง
การปกครองเเบบจตุสดมภ์
เสนาบดีกรมเวียง
ดูเเลควาสงบสุขทั่วไปภายในราชธานี
เสนาบดีกรมวัง
ทำหน้าที่เกี่ยวกับราชสำนักเเละพระมหากษัตริย์
เสนาบดีกรมคลัง
การเก็บภาษีอากรการค้ากับต่างชาติเเละการติดต่อกับต่างประเทศ
เสนาบดีกรมนา
การเกษตรเเเละการเก็บภาษีิอากรภายในประเทศ
การปกครองหัวเมือง
หัวเมืองชั้นในหรือเมืองจัตวา
เมืองที่อยู่รอบๆเมืองหลวง
ผู้ปกครองเมือง เรียกว่า ผู้รั้งเมือง
มีหน้าที่รับคำสั่งจากส่วนกลางไปปฏิบัติโดยตรง
หัวเมืองชั้นนอกหรือเมืองพระยามหานคร
มีการกำหนดฐานะของเมืองตามลำดับความสำคัญ
เมืองชั้นเอก
พิษณุโลก
จันทบูรณ์
เมืองชั้นโท
ระยอง
เพรชบูรณ์
เมืองชั้นตรี
พิจิตร
นครสวรรค์
พระมหากษัตริย์ทรงเเต่งตั้งข้าราชการผู้ใหญ่ไปเป็นเจ้าปกครองเมือง
ประกอบด้วยจังหวัดอะไรบ้าง
เเพรก(สวรรค์บุรี)
สุพรรณบุรี(อู่ทอง)
ราชบุรี
เพรชบุรี
ตะนาวศรี
ด้านเศรษฐกิจ
การวางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
การพัฒนาทางด้านเกษตรกรรม
เพื่อเพิ่มผลผลิตให้เพียงพอแก่การบริโภคภายในโดยการเกณฑ์แรงงานคนไทย จีน และเชลยศึกสงครามให้ช่วยบุกเบิกพื้นที่ทำไร่ทำนามากขึ้น
การสร้างความเข็มแข็งทางเศรษฐกิจในหัวเมือง
้