Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์เมื่ออายุมาก(Elderly Pregnancy) (ปัจจัยส่งเสริม…
การตั้งครรภ์เมื่ออายุมาก(Elderly Pregnancy)
ความหมาย
การตั้งครรภ์เมื่ออายุมาก หมายถึง
การตั้งครรภ์ของสตรีที่มีอายุเท่ากับ 35 ปีหรือมากกว่า นับจากวันเกิดจนถึงวันกำหนดคลอด
ปัจจัยส่งเสริม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงานมากขึ้น
ค่านิยม
ความต้องการความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
เป็นค่านิยมที่ทำให้สตรีและบุรุษให้ความสำคัญ
มากกว่าการแต่งงาน
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ช่วยการเจริญพันธ
การเผยแพร่ข้อมูลผ่านสื่อต่างๆ
สามารถค้นหาข้อมูลข่าวสารที่ตนเองสนใจ
ผ่านสื่อได้อย่างกว้างขวาง ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์
สื่อโฆษณา สื่อออนไลน์และสื่ออื่นๆ
ระดับการศึกษา
สตรีที่มีระดับการศึกษาสูงมักแต่งงานช้ากว่าสตรีที่มีการศึกษาต่ำหรือสตรีที่ต้องใช้ทักษะและความรู้สูงในการทำงานมักแต่งงานช้ากว่าสตรีที่ใช้แรงงาน
ผลกระทบทางด้านร่างกาย
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
การแท้งบุตร
การสูญเสียทารกในระหว่าง
20 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ
ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
โรคเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง
รกเกาะต่ำ
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์อายุมากกว่า 35 ปี
มีโอกาสตั้งครรภ์แฝดถึงร้อยละ 3.5
การตั้งครรภ์นอมดลูก
ปัญหาในระยะคลอด
การคลอดก่อนกำหนด
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ความผิดปกติทางโครโมโซมของทารก
Down syndrome
ทารกมีน้ำหนักน้อย
อัตราการตายปริกำเนิดของทารก(Perinatal mortality rate) หรือ
จำนวนการตายของทารกที่มีน้ำหนักอย่างน้อยระหว่าง 500-1,000 กรัม
หรืออายุครรภ์อย่างน้อย 22 สัปดาห์เต็มถึงน้อยกว่า 7 วันหลังคลอด
ผลกระทบทางด้านจิตสังคม
ความเครียดและความวิตกกังวล
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ก
การรับบทบาทใหม
สุขภาพของตนเองและทารกในครรภ์สตรีตั้งครรภ์ที่อายุมากส่วนใหญ่จะรับรู้ความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน
การตรวจรักษา
การคลอด
ความรู้สึกไม่แน่นอนต่อ
การตั้งครรภ์และการคลอด
การยอมรับการตั้งครรภ์
สัมพันธภาพกับสามี
แนวทางการดูแลและบทบาทของพยาบาล
ด้านร่างกาย
ระยะก่อนการตั้งครรภ์
แนะนำการเตรียมตัวและ
วางแผนการตั้งครรภ์
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองโรคที่ถ่ายทอด
ทางพันธุกรรม เช่น โรคธาลัสซีเมีย
แนะนำการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันที่จำเป็นก่อนการตั้งครรภ์ เช่น การฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัดเยอรมัน หรือไวรัสตับอักเสบบี
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน
ของการตั้งครรภ์ที่พบได้ในสตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุมาก
ระยะตั้งครรภ์
พยาบาลควรเฝ้าระวังและประเมินภาวะเสี่ยง
ที่อาจเกิดขึ้นขณะคลอด
อธิบายขั้นตอนเกี่ยวกับกระบวนการคลอด
และการปฏิบัติตัวในระยะคลอด
การใช้เทคนิคการผ่อนคลาย
เทคนิคการหายใจเพื่อลดปวด
คอยให้กำลังใจ อยู่เป็นเพื่อนข้างเตียง
และให้ความช่วยเหลือตามความเหมาะสม
ระยะคลอด
กลุ่มที่มีบุตรเพียงพอ
ควรเน้นเกี่ยวกับการวางแผนการคุมกำเนิด
กระตุ้นและส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมารดา
กลุ่มที่ยังมีบุตรไม่เพียงพอ
หรือมีบุตรที่ต้องพึ่งพา
การดูแลสุขภาพของตนเอง
การเลี้ยงดูทารก
การวางแผนการคุมกำเนิดแนะนำ
ปรึกษาแพทย์เพื่อวางแผนใน
การตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
การมาตรวจติดตามหลังคลอด
อย่างต่อเนื่อง