Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ลักษณะของวัฒนธรรมไทย (วัฒนธรรมในระดับภูมิภาคของสังคมไทย (ภาคเหนือ…
ลักษณะของวัฒนธรรมไทย
ความหมายของวัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณี สิ่งที่ดีงาม สิ่งที่ได้รับการปรุงแต่งให้ดีแล้ว หรือสิ่งที่ได้รับการยอมรับและยกย่องมาเป็นเวลานานแล้ว
-
-
-
วัฒนธรรมไทยในแต่ละท้องถิ่น จะมีความคล้ายคลึงและแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ และยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมเก่าแก่สืบสานต่อกันมาเป็นเวลายาวนาน มีวัฒนธรรมหลักที่ถือว่า เป็นวัฒนธรรมประจำชาติไทย และแสดงให้เห็นถึงความเป็นไทย
-
-
เป็นสิ่งที่แสดงถึงวิถีชีวิตของคนไทยที่เคยปฏิบัติสืบเนื่องกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ และได้สืบทอดกันมาจนถึงลูกหลาน ที่เรียกกันว่าขนบธรรมเนียมประเพณีนั่นเอง
การไหว้
-
วัฒนธรรมในระดับภูมิภาคของสังคมไทย
-
-
ภาคกลาง
เนื่องจากอยู่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา จึงมีชีวิตผูกพันอยู่กับการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ และมีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สำคัญ
-
-
-
ภาคใต้
ประชากรมีความแตกต่างกันทางด้านศาสนาเป็นกลุ่ม ๆ มีการผสมผสานทางวัฒนธรรมประเพณี จึงมีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะภาค
-
-
-
-
-
วัฒนธรรมพื้นบ้านของสังคมไทย
วัฒนธรรมพื้นบ้านเป็นวิถีชีวิตการดำเนินชีวิตของชาวบ้าน ซึ่งในแต่ละท้องถิ่นจะสืบทอดกันมาด้วยการพูดจา บอกเล่า สั่งสอน หรือทำให้ดูเป็นตัวอย่างเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตประจำวันและการรวมกลุ่ม รวมพลังกันทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวันตามความเชื่อนั้น ๆ
-
- ความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรม
-
เป็นงานที่เกิดจากการสร้างสรรค์หรือประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันจากวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นของตน ในแต่ละท้องถิ่นย่อมแตกต่างกันไป ทั้งด้านการใช้วัสดุ เทคนิคและการถ่ายทอดสืบต่อกัน
-
-
-
-
-
คนไทยทุกภาคส่วนใหญ่ใช้ภาษาไทยเป็นปกติ แต่มีสำเนียงและการใช้คำแตกต่างกันมากน้อยแต่ละท้องถิ่น ซึ่งอาจได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมใกล้เคียงด้วย ภาษาไทยพื้นบ้านที่ใช้กันอยู่ในกลุ่มท้องถิ่นต่าง
-
-
-
-