Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง (ขั้นตอนการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง…
บทที่ 8 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ความหมายของประชากร กลุ่มตัวอย่าง และการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร
ประชากรจำนวนจำกัด
ประชากรจำนวนไม่จำกัด
กลุ่มตัวอย่าง
การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดี
มีความเป็นตัวแทน
มีขนาดเหมาะสม
ได้มาจาดการสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีที่เหมาะสม
เก็บข้อมูลได้ง่าย สะดวก
มีความเชื่อมั่น และแม่นยำมากกว่า
อื่น ๆ
เหตุผลของการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
ทำให้ผู้วิจัยมีโอกาสที่จะเข้าถึงข้อมูลจากตัวแทนของประชากรได้อย่างละเอียดครบถ้วน
ข้อมูลที่ได้รับเป็นปัจจุบัน
เป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย
ขั้นตอนการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
การสุ่มกลุ่มตัวอย่างให้เป็นตัวแทนที่ดีของประชากร
ประชากรลักษณะเอกพันธ์
ประชากรมีลักษณะวิวิธพันธ์
วิเคราะห์วัตถุประสงค์ของการวิจัยให้ละเอียด
นิยามประชากร
กำหนดหน่วยของตัวอย่าง
กำหนดกรอบการสุ่ม
กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
กำหนดวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
ทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างตามวิธีและขนาดที่กำหนดไว้
ประเภทของการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
การสุ่มกลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยเชิลคุณภาพ
การสุ่มกลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยเชิงปริมาณ
การสุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็น
แบบสุ่มอย่างง่าย
การสุ่มแบบเป็นระบบ
การสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ
การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม
การสุ่มแบบหลายขั้นตอน
การสุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็น
การเลือกแบบกำหนดสัดส่วน
การเลือกแบบเจาะจง
การสุ่มแบบบังเอิญ
สุ่มแบบลูกโซ่หรือแบบแนะนำต่อเป็นทอด ๆ
การเลือกตัวอย่างอบบโควต้า
กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
ขนาดของประชากร
ธรรมชาติของประชากร
ระดับความถูกต้องแม่นยำ
ประเภทของงานวิจัย
ค่าใช้จ่าย เวลา และแรงงาน
วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์ร้อยละ
การกำหรดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางาำเร็จรูป
การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณ
การกำหนดโดยคำนวณจากสูตรในกรณีที่ไม่ทราบจำนวนประชากร