Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 แก้ไขถึง ฉ.2 พ.ศ. 2554 (หมวด 2…
ข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547 แก้ไขถึง ฉ.2 พ.ศ. 2554
วันบังคับใช้
2 พ.ย. 47
ประธานสภาวินิจฉัยเกี่ยวกับปัญหาของระเบียบนี้ได้เบื้องต้น
อบจ. เทศบาล
#
ส่งข้อโต้แย้งให้ผู้ว่าวินิจฉัย แล้วให้ผู้ว่ารายงานปลัด มท
อบต.
#
ส่งข้อโต้แย้งให้นายอำเภอ วินิจฉัยเฉพาะคราวประชุมนั้นๆ แล้วส่งให้ผู้ว่า เพื่อรายงานปลัด มท
หมวด1 ประธานสภาท้องถิ่น
รองประธานฯ เลขานุการฯ
:spiral_note_pad:
อำนาจหน้าที่ประธานสภาฯ
ข. 16
ดำเนินกิจการของสภา
เป็นประธานของที่ประชุมสภาท้องถิ่น
บังคับบัญชาการงานในสภาท้องถิ่น
รักษาความสงบเรียบร้อยในสภาท้องถิ่น
เป็นผู้แทนสภาท้องถิ่นในกิจการภายนอก
อำนาจและหน้าที่อื่น
การเลือก ประธานฯ รองประธาน ฯ เลขา ฯ กรณีตำแหน่งว่าง นอกเหนือการครบวาระ
ข.15
แต่งตั้งประธาน/รองประธาน ภายใน
15 วัน
นับจากว่าง
เลขาฯ ให้เลือกในการประชุมคราวแรก นับจากว่าง
รายงานผลการเลือกประธานให้ผู้ว่า (อบจ. เทศบาล) นายอำเภอ (อบต.)
ภายใน 7 วัน
#
วิธีเลือกประธานสภาท้องถิ่น
ข.8 ให้สมาชิกเสนอชื่อ สมาชิกฯที่ เห็นว่าสมควรดำรงตำแหน่ง :spiral_note_pad:
ข.9 ให้ผู้ว่า/นายอำเภอ แต่งตั้งประธานสภาเมื่อเลือกแล้วเสร็จ
วิธีเลือกรองประธานสภาฯ
และเลขานุการสภา
ท้องถิ่น
ข. 12 ให้เลือกคนที่ 1 ก่อน แล้วเลือกคนถัดไปจนกว่าจะครบตามจำนวน (เลือกทีละคนนั้นเอง)
#
ให้สภาฯ เลือกพนักงาน ข้าราชการ หรือสมาชิก 1 คน เป็นเลขาฯ
(อบต. คือ ปลัดเท่านั้น)
หน้าที่เลขาสภาฯ
ข.19 :spiral_note_pad:
แจ้งนัดประชุมสภาท้องถิ่นตามคำสั่งของประธาน
ชี้แจงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง หนังสือสั่งการ หรือแนวทาง
ช่วยเหลือประธานสภาท้องถิ่นจัดทำระเบียบวาระการประชุมสภา
เชิญประธานสภาท้องถิ่นชั่วคราวปฏิบัติหน้าที่
จัดทำรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น
เก็บรักษาข้อมูลข่าวสาร หรือเอกสารของสภาท้องถิ่น แต่จะเปิดเผยได้ต่อเมื่อ ได้รับ อนุญาตจากประธานสภา
ช่วยเหลือประธานสภาท้องถิ่นในการควบคุมการนับคะแนนเสียง
ช่วยเหลือประธานสภาท้องถิ่นในการรักษาความสงบเรียบร้อยในสภาท้องถิ่น
หน้าที่อื่น
การกำหนดสมัยประชุมสมัยสามัญ
(ตาม พ.ร.บ.จัดตั้ง) ข.11
#
อบจ.
กำหนดวันเริ่มสมัยประชุมสามัญประจำปีของแต่ละสมัย
และวันเริ่มสมัยประชุมสามัญประจำปีสมัยแรกของปีถัดไป
เทศบาล
กำหนดว่าการประชุมสมัยสามัญประจำปีแต่ล่ะสมัยในปีนั้นจะเริ่มเมื่อใด
แต่ละสมัยมีกำหนดกี่วัน
กำหนดวันเริ่มประชุมสมัยสามัญประจำปีสมัยแรกของปีถัดไปและมีกำหนดกี่วัน
อบต.
กำหนดว่าการประชุมสมัยสามัญประจำปีกี่สมัย
แต่ละสมัยเริ่มเมื่อใด
มีกำหนดกี่วัน
กำหนดวันเริ่มประชุมสมัยสามัญสมัยแรกของปีถัดไปและกำหนดกี่วัน
ใน 1 ปีให้มีสมัยประชุมสามัญสองสมัยหรือหลายสมัยแล้วแต่สภาฯ แต่ต้องไม่เกิน 4 สมัย วันเริ่มสมัยประชุมสามัญประจำปีให้สภา กำหนด ม.53
ให้มีกำหนด ไม่เกิน 15 วันแต่ถ้าจะขยายต้องได้รับอนุญาตจากนายอำเภอ ม.55
ได้ มติ สภาฯแล้วให้ประธานฯ ทำเป็นประกาศ และปิดในที่เปิดเผย ณ สำนักงานอปท.
ข. 21 ว.2 :spiral_note_pad:
หมวด 2 การประชุม
:silhouettes:
การประชุมสภาท้องถิ่น มี 2 ประเภท
สามัญ
วิสามัญ
เรียกประชุม
(การแจ้งเตือนว่าสมัยประชุมนี้ มีกำหนดวันที่เท่าไหร่ถึงเท่าไหร่) ข.22
ให้ประธานฯ ทำหนังสือ
เรียกประชุม
แจ้งให้สมาชิกทราบล่วงหน้า พร้อมปิดประกาศ
เร่งด่วนไม่น้อยกว่า 24 ชม. ระบุเหตุผลด้วย
ไม่น้อยกว่า 3 วัน
นัดประชุม
(เชิญประชุม ) ข.23 :spiral_note_pad:
ทำเป็นหนังสือ
บอกนัดในที่ประชุม
แจ้งนัดไม่น้อยกว่า 3 วัน
(เร่งด่วนจะน้อยกว่านี้ก็ได้ ระบุเหตุผลด้วย)
การประชุมสภาฯใด ไม่มีการนัดประชุม ถือว่าไม่เป็นการประชุมสภาฯ
ระเบียบวาระการประชุม
ให้ส่งระเบียบวาระไปพร้อมกับการเรียกประชุม หรือการนัดประชุม ข.24
#
ประธานฯ ประชาสัมพันธ์ กำหนด วันเวลา สถานที่ประชุม และเรื่องที่จะนำเข้าประชุมสภาฯ เพื่อให้ประชาชนทราบ และเข้าฟังด้วย ข.24 ว.2
การจัดระเบียบวาระการประชุม
ข.27
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
รับรองรายงานการประชุม
กระทู้ถาม
เรื่องที่คณะกรรมการที่สภาจัดตั้งขึ้นพิจารณาแล้วเสร็จ
เรื่องที่เสนอใหม่
เรื่องอื่นๆ
สมาชิกคนใด ไม่ได้เซ็นชื่อ แต่มาร่วมประชุมถือว่ามา แต่ถ้าลงชื่อแล้วไม่มาไม่นับ ข.25
ไม่ครบอค์ประชุม เกิน 1 ชม. ให้เลื่อนประชุม ให้ผู้ที่ไม่มาถือว่าขาด ข.25
กรณีไม่มีประธานสภาและรอง ในการประชุมนั้น
ให้สมาชิกที่อายุมากสุดเป็นประธาน
ประธานฯ สั่งปิดประชุมก่อนหมดวาระไม่ได้ เว้นแต่เกิดอลเวงควบคุมไม่ได้ ข.29
นำวาระที่ยังไม่ได้ดำเนินการ เข้าระเบียบวาระในการประชุมครั้งต่อไป
การประชุมลับ
ข.30
ผู้บริหาร หรือสมาชิกไม่น้อยกว่า 1/3ที่มาประชุม ร้องขอให้ประชุมลับ โดยไม่ต้องขอมติ อาจทำเป็นหนังสือหรือ วาจาก็ได้
ให้ประธานสั่งผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องให้ออกจากที่ประชุม
การประชุมลับจะเปิดเผยในรายงาน เพียงใดแล้วแต่มติ ข.35
รายงานการประชุมสภา
ให้สมาชิกตรวจดูได้ก่อนเวลาประชุมไม่น้อยกว่า 1 วัน ข.33
จะต้องมี
รายชื่อสมาชิกที่มาประชุม
ลาประชุม
ขาดประชุม
สภาฯ ต้องรับรองรายงานการประชุมก่อน ประธานจึงลงชื่อในรายงานไว้เป็นหลักฐาน ข.34
ให้คณะกรรมการตรวจรายงานการประชุม แล้วทำสำเนาอย่างน้อย 2 ฉบับ ข.33
การเปิดสมัยวิสามัญ
อบจ.
ประธานสภาฯเรียกประชุม
นายกฯหรือ สมาชิก
ไม่น้อยกว่า 1/3
คำทำร้องยื่นให้ประธานฯเปิดวิ ให้ประธานฯเปิดวิภายใน 15 วัน
ให้มี วิ 7 วัน ขยายอีกไม่เกิน 7 วัน
เทศบาล
ผู้ว่าเรียกประชุม วิ
ประธานสภาฯ นายกฯ สมาชิก
ไม่น้อยกว่าครึ่ง
ทำคำร้องเปิดวิ ต่อผู้ว่า
ให้มี วิ 15 วัน ขยายต้องได้รับอนุญาตจากผู้ว่า
อบต.
นายอำเภอ เรียกประชุมวิ
ประธานสภาฯ นายกฯ สมาชิก
ไม่น้อยกว่าครึ่ง
ทำคำร้องเปิดวิ ต่อนายอำเภอ
ให้มี วิไม่เกิน 15 วัน ขยายต้องได้รับอนุญาตจากนายอำเภอ
หมวด 3 ญัตติ
:rolled_up_newspaper:
ประเภทญัตติ
ข.37
ญัตติเกี่ยวกับกิจการของสภา
ญัตติร่างข้อบัญญัติ
การยื่นญัตติ
ข.38
ทำหนังสือยื่นต่อประธานสภาฯ ล่วงหน้าก่อนประชุม
ไม่น้อยกว่า 5 วัน
มีสมาชิกรับรองอย่างน้อย 2 คน (เว้นสมาชิกมี น้อยกว่า 8 คน ให้รับรอง 1 คน)
ญัตติการเงิน จะเสนอได้เมื่อมีคำรับรองของนายกฯ
นายกฯ เป็นผู้ยื่นญัตติไม่ต้องมีผู้รับรอง
ให้ประธานบรรจุญัตติเข้าวาระการประชุม ถ้ามีเหตุจำเป็นไม่สามารถบรรจุได้ ให้บรรจุในสมัยถัดไป พร้อมเหตุผล ข.40
ญัตติที่ถูกบรรจุแล้วหากสภา ไม่พิจารณาหรือ ไม่เเสร็จให้ตกไป ยกเว้นญัตติร่างข้อบัญญัติงบประมาณให้บรรจุในสมัยถัดไป
ญัตติที่อาจเสนอด้วยวาจาในที่ประชุม
ต้องมีสมาชิกรับรองไม่น้อยกว่า 1/3 โดยการยกมือ
ขอให้รับรองรายงานการประชุม
ขอให้รับรองรายงานอื่นๆ ของคณะกรรมการต่างๆ
ขอปรึกษาหรือขอให้พิจารณาเป็นเรื่องด่วน
ขอให้พิจารณาข้อบัญญัติทั่วไปสามวาระรวด
ญัตติตามข้อ 41
ญัตติที่ประธานอนุญาต
ห้ามเสนอญัตติอื่น ในขณะที่ที่ประชุมปรึกษาในญัตติใด นอกจาก ข.41 (ญัตติที่สามารถเสนอได้)
ขอแปรญัตติร่างข้อบัญญัติทั่วไป
ขอให้ส่งปัญหาไปยัง คกก.สภา
ขอให้ลงมติ
ขอให้แยกประเด็นพิจารณา หรือลงมติ
ขอให้ปิดอภิปราย
ขอให้เปิดอภิปรายต่อ
ขอให้เลื่อนการปรึกษา
ขอให้ประธานใช้อำนาจ ควบคุมความสงบ
ขอให้บุคคลใดมาแถลงข้อเท็จจริง
ขอให้ยกเรื่องอื่นมาปรึกษาโดย ญัตติเดิมตกไปอัตโนมัติ ยกเว้นญัตติเกี่ยวกับข้อบัญญัติ
ญัตติ 3,5,10 ห้ามให้ผู้ที่อภิปรายเสนอในคราวที่ตัวเองอภิปราย
การเสนอร่างข้อบัญญัติ
ข.43
หลักการของร่างข้อบัญญัติ
เหตุผลที่เสนอข้อบัญญัติ
ให้ประธาน สำเนาแจกสมาชิก ไม่น้อยกว่า 3 วัน เว้นเร่งด่วนไม่น้อยกว่า 24 ชม.
ประธานตรวจแล้วไม่ถูกต้องให้ส่งคืน ผู้เสนอ ใน 7 วัน เว้นข้อบัญญัติการเงิน ที่ไม่มีคำรับรองให้ส่งคืนผู้บริหารให้ทำคำรับรอง
ร่างข้อบัญญัติเกี่ยวกับการเงิน
ข.44
การจัดเก็บ ยกเลิก ลด เปลี่ยนแปลง แก้ไข ผ่อน วางระเบียบการบังคับเกี่ยวกับอากร
การเก็บรักษาเงิน การจ่ายเงิน หรือการโอนงบประมาณ
การกู้เงิน ค้ำประกัน การใช้เงินกู้
การคลัง งบประมาณ การเงิน ทรัพย์สิน การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สิน
การจ้างและพัสดุ
การพิจารณา ร่างข้อบัญญัติ
ญัตติร่างข้อบัญญัติ ที่ประชุมสภาฯต้องพิจารณา 3 วาระ หรือพิจารณา 3 วาระรวดเดียวได้
ผู้บริหารท้องถิ่น หรือ สมาชิก ไม่น้อยกว่า 1/3 เสนอ
วาระ 2 ให้ สมาชิกเป็น คกก.แปรฯ เต็มสภา ประธานสภา เป็น ประธานแปรฯ
ข้อ 45
ญัตติ งป. พิจารณา 3 วาระ รวดเดียวไม่ได้
วาระ 1-2 ติดกันไม่ได้
วาระที่ 2 ให้กำหนดเวลาการเสนอคำแปรฯ
ไม่น้อยกว่า 24 ชม
.
วาระ 2-3 ติดกันได้
ข้อ 45
วาระการพิจารณา
วาระที่ 1
เรื่อง รับหรือไม่รับหลักการ และห้ามให้มีการลงมติก่อนที่สมาชิกสภา
ได้อภิปรายเรื่องนั้นพอสมควรแล้ว หรือสภาจะให้คณะกรรมการสภาพิจารณาก่อนรับหลักการก็ได้
วาระที่ 2
ให้ปรึกษาเรียงตามลำดับข้อเฉพาะที่มีการแปรญัตติหรือที่คณะกรรมการแปรญัตติแก้ไขเท่านั้น เว้นที่ประชุมสภาฯจะลงมติเป็นอย่างอื่น
วาระที่ 3
ไม่มีการอภิปราย เว้นที่ประชุมลงมติให้อภิปราย
ให้ลงมติ ว่าจะตราเป็นข้อบัญญัติหรือไม่
#
ถ้าสภาไม่รับหลักการร่างข้อบัญญัติงบประมาณ
1) ให้ประธานสภานำปรึกษาเพื่อเลือกสมาชิกเป็นกรรมการในคณะกรรมการหาข้อยุติ
(ใช้วิธีเลือกรองประธานสภา เลือกทีละคน)
2) แจ้งมติ และรายชื่อกรรมการ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภอทราบภายใน
3 วันนับแต่วันที่สภาไม่รับหลักการ
3) ให้ประธานฯ แจ้งมติให้ผู้บริหารทราบภายในวันถัดจากวันมีมติ
ร่างข้อบัญญัติตกไป
ข.53
1) ร่างข้อบัญญัติที่สภาไม่รับหลักการ
2) ร่างข้อบัญญัติที่สภาลงมติไม่ให้ตราเป็นข้อบัญญัติ
ผลเมื่อร่างข้อบัญญัติตกไป
1) ถือว่าร่างข้อบัญญัตินั้นตกไป เว้นแต่กฎหมายกำหนดเป็นอย่างอื่น
2) ห้ามเสนอญัตติร่างข้อบัญญัติที่มีหลักการเดียวกันในสมัยประชุมนั้นอีก เว้นแต่ประธานสภาอนุญาตเมื่อเหตุการณ์ได้เปลี่ยนแปลงไป
ถ้ารับหลักการ
ให้ส่งให้คณะกรรมการแปรญัตติพิจารณา โดยกำหนดระยะเวลาเสนออคำแปรญัตติไว้ด้วย
กรณีผู้บริหารหรือสมาชิก(พร้อมผู้รับรอง 2 คน) จะเสนอคำแปรญัตติล่วงหน้าให้ทำเป็นหนังสือ
**กรณีพิจารณาสามวาระรวด ผู้แปรญัตติอาจเสนอคำแปรด้วยวาจาได้
เมื่อ คกก.แปรฯได้พิจารณาแล้ว
ส่งร่างข้อบัญญัตินั้นตามเดิมและตามที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม พร้อมรายงานและบันทึกความเห็นยื่นต่อประธานสภา ในรายงานต้องระบุว่ามีหรือไม่มีการแก้ไขเพิ่มเติม ในตอนใดบ้าง การแปรญัตติและความเห็นของ คกก. การสงวนความเห็นของ คกก และ สงวนคำแแปรฯ
ประธานฯส่งรายงานนั้นแก่สมาชิกฯไม่น้อยกว่า 24 ชม. ก่อนวันประชุม เว้นเร่งด่วน
ให้คกก. แปรฯไปร่วมประชุม เพื่อแถลงด้วย
ถ้ามีมติไปแล้ว
ขัดแย้งในสาระสำคัญ
ให้ส่งให้ คกก.แปรฯ พิจารณาใหม่ก็ได้ เป็นข้อๆ แล้วในการประชุมวาระที่ 2 ต่อ ให้ลงมติเฉพาะที่ระงับไว้เท่านั้น ข.51
#
การเสนอญัตติให้สมาชิกพ้นจากตำแหน่ง
ข.54
ยื่นเป็นหนังสือล่วงหน้า พร้อมสมาชิกเข้าชื่อเสนอไม่น้อยกว่า 1/3 ของที่มีอยู่
ให้ประธานฯแจ้งสมาชิกที่ถูกยื่นเป็นหนังสือไม่น้อยกว่า 2 วัน
การถอนญัตติ คำแปรญัตติ แก้ไขข้อความ หรือขอถอนชื่อ
การขอถอนญัตติหรือคำแปรญัตติ จะกระทำเมื่อ
ข.55
ต้องการแก้ไขข้อความในญัตติร่างข้อบัญญัติที่เปลี่ยนหลักการ
ขอถอนชื่อจากการเป็นผู้รับรองหรือผู้ร่วมเสนอญัตติ
จะกระทำเมื่อใดก็ได้ เว้นแต่ ได้จัดเข้าระเบียบวาระแล้วจะทำได้ต้องได้รับความยินยอมจาก
ที่ประชุมสภา หรือที่ประชุมคณะกรรมการแปรญัตติ
(คำแปรญัตติชั้นคณะกรรมการฯ)
กรณีถือว่าถอนญัตติ
ถึงวาระพิจารณาแล้ว ผู้เสนอหรือผู้แปรญัตติไม่ขออภิปราย หรือไม่อยู่ในที่ประชุมสภา
ให้ถือว่าได้ถอนญัตติ / คำแปรญัตตินั้น
กรณีผู้บริหารเสนอญัตติ / แปรญัตติ อาจมอบหมายให้รองนายกฯ เลขาฯ ที่ปรึกษาฯ
เป็นผู้อภิปรายชี้แจงหรือแถลงแทนก็ได้ แต่ต้องทำเป็นหนังสือ
กรณีสภาท้องถิ่นครบวาระหรือมีการยุบสภา ญัตติใดๆ ซึ่งที่ประชุมสภาฯยังไม่ได้รับพิจารณาหรือพิจารณาแล้วยังไม่เสร็จ ให้ตกไป ข.57
หมวด 4 งบประมาณ
:moneybag:
การยื่นญัตติข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
ผู็บริหารฯ ยื่นญัตติต่อ สภา
ภายใน 15 สิงหาคม
ตามระเยียบ มท ว่าด้วยวิธีการงบประมาณ
การแปรญัตตข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
สมาชิกฯ จะแปรฯ ลดรายจ่าย หรือขอลดจำนวนเงินที่ขออนุญาตจ่าย จะแปรเพิ่ม หรือเปลี่ยนแปลงความประสงค์ไม่ได้(เว้นแต่ได้รับคำรับรองจากผู้บริหารท้องถิ่น) การแปรญญัติ
ต้องมีผู้รับรอง 2 คน เช่นเดียวกับการเสนอญัตติ ข.59
คำแปรญัตติ เสนอล่วงหน้า(ก่อน คกก. ประชุม) ต่อ คกก.แปรญัตติ ภายในเวลาที่ สภากำหนด
ผู้บริหารแปรเพิ่มได้ เปลี่ยนแปลงความประสงค์ได้
รายการที่ห้ามไม่ให้แปรญัตติ
ดอกเบี้้ยและเงินต้นส่งใช้เงินกู้
รายจ่ายที่ต้องจ่ายตามกฎหมาย
หมวด 5 การอภิปราย
:speaker:
การกล่าวถ้อยคำในที่ประชุมสภา
สมาชิกสภาท้องถิ่นผู้ใดประสงค์จะกล่าวถ้อยคำใดต่อที่ประชุมสภาท้องถิ่นให้ยกมือ
ขึ้นพ้นศีรษะ เมื้อประธานสภาท้องถิ่นอนุญาตแล้วจึงกล่าวได้ โดยให้ยืนกล่าว ณ ที่ของตนหรือ ณ ที่ซึ่ง
จัดไว้ก็ได้ และต้องกล่าวกับประธานสภาท้องถิ่น ให้ใช้เวลาตามสมควร หากใช้เวลาเกินสมควรและมี
ผู้อื่นจะอภิปรายต่อไป ประธานอาจสั่งให้หยุดได้ เมื่ออภิปรายมา 10 นาทีแล้ว (ตามระเบียบข้อ 67)
การอภิปรายเฉพาะเรื่องที่กำลังปรึกษาห้ามกล่าวข้อความซ้ำหรือนอกประเด็น
ห้ามใช้คำหยาบคายใส่ร้ายป้ายสีผู้ใด
ห้ามกล่าวถึงชื่อบุคคลใดๆ เว้นแต่หากจำเป็น
ห้ามนำเอกสารมาอ่านในที่ประชุมฟัง เว้นแต่จำเป็น
ห้ามนำวัตถุใดๆ เข้ามาแสดง เว้นแต่ประธานอนุญาต
การอนุญาตให้อภิปราย และลำดับการอภิปราย
ให้โอกาสผู้เสนอญัตติก่อน ถ้ามีหลายคนอภิปรายได้ทีละ 1
ผู้คัดค้าน (ถ้ามี)
ผู้สนับสนุนผู้เสนอ หรือผู้แปรญัตติ
ผู้สนับสนุนผู้คัดค้าน ให้อภิปรายสลับกัน ถ้าไม่มีอีกฝ่ายก็ไห้ฝ่ายนั้นอภิปรายต่อเนื่องได้
ผู้ถูกอภิปรายพาดพิง อาจขออนุญาตกล่าวชี้แจงข้อเท็จจริงได้
การปิดอภิปราย
ไม่มีผู้ใดจะอภิปรายต่อไป
ประธานเห็นว่าได้อภิปรายกันพอสมควรแล้วประธานเสนอให้วินิจฉัยว่าควรปิดอภิปราย
หรือไม่ เว้นแต่ อภิปรายกรณีสมาชิกถูกกล่าวหา ตามข้อ 72 (การอภิปรายเรื่องการ ประพฤติเสื่อมเสีย) ให้อภิปรายจนหมดข้อสงสัย ห้ามรวบรัด
อภิปราย
เมื่อปิดอภิปรายแล้วให้ประธานเสนอให้ลงมติ
การรักษาระเบียบการประชุม
เมื่อประธานเตือน สมาชิกต้องปฏิบัติตามทันที ข.66
เมื่อเห็นว่ามีผู้กระทำผิดระเบียบการประชุม สมาชิกสภาอาจยืนหรือยกเมือร้องขอต่อ
ประธานให้วินิจฉัย
คำวินิจฉัยเป็นเด็ดขาดและห้ามอภิปรายในเรื่องนี้อีก ข.70
ขณะอภิปราย ถ้าประธานยืน ให้สมาชิกระงับการอภิปรายแล้วนั่งลงทันทีและสมาชิก
ต้องฟังประธาน
หมวด 6 การลงมติ
วิธีการออกเสียงลงคะแนน
1) วิธีเปิดเผย
ให้ใช้วิธียกมือพ้นศีรษะ เว้นผู้บริหาร / สมาชิกไม่น้อยกว่า 3 คน เสนอให้ใช้วิธี
ยืนขึ้น หรือ เรียกชื่อตามล าดับอักษร และที่ประชุมเห็นชอบ
2. วิธีลับ
ในกรณี กม. กำหนดให้ออกเสียงลงคะแนนลับ
ในกรณี ผู้บริหาร / สมาชิกไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ที่อยู่ในที่ประชุมเสนอให้ออกเสียงลับและสภาเห็นชอบ
วิธีการ เขียนเครื่องหมายบนกระดาษใส่กล่องที่จัดให้ แล้วประธานเรียกชื่อตามลำดับอักษรนำซองมาใส่หีบด้วยตนเองต่อหน้าประธาน
การลงมติ
หมวด 7 กระทู้ถาม
กระทู้ถาม คือ คำถามซึ่งสมาชิกสภาท้องถิ่นตั้งขึ้นเพื่อสอบถามผู้บริหารท้องถิ่นเกี่ยว
กับ
ข้อเท็จจริงหรือนโยบายอันเกี่ยวกับงานในหน้าที่ของผู้บริหารท้องถิ่น
กระทู้ถามทั่วไป
ทำเป็นหนังสือ และยื่นต่อประธานสภา เพื่อเสนอล่วงหน้า และ
ให้ประธานสภาส่งกระทู้ให้ผู้บริหารเตรียมตอบ พร้อมบรรจุเข้าระเบียบวาระภายใน
7 วัน
นับแต่
ส่งกระทู้ให้ผู้บริหาร
คำชี้แจงประกอบ ต้องไม่ใช้คำฟุ่มเฟือย วกวน ซ้ำซาก มีลักษณะอภิปราย
กระทู้ถามด่วน
1) กระทู้ถามด่วนต้องเป็นเรื่องเกี่ยว
ประโยชน์สำคัญหรือเหตุฉุกเฉินจำเป็นเร่งด่วนกระทบ
ประชาชนอย่างร้ายแรงที่จะต้องรีบชี้แจง
และดำเนินการโดยทันที ข.93
2) ประธานต้องรีบส่งให้ผู้บริหารเตรียมตอบ พร้อมกับกำหนดเวลาตามความสำคัญและ
ความสนใจของประชาชน ข.94
3) ประธานต้องอนุญาตให้ถามกระทู้ถามด่วนก่อน (ตามลำดับ) ข.96
หลักเกณฑ์การตั้งกระทู้ถาม
1) แต่ละกระทู้ที่ผู้ตั้งและซักถามได้เพียงคนเดียว ข.89
2) ในการประชุมครั้งหนึ่ง คนหนึ่งตั้งได้ 1 กระทู้ ยกเว้นประธานสภาอนุญาต ข.100
เมื่อผู้บริหารตอบแล้ว ผู้ตั้งกระทู้ซักถามได้อีก 3 ครั้ง ต้องไม่เป็นการอภิปราย ข.98
ลักษณะต้องห้าม 8 ประการ
(1) มีความ
เชิงประชด เสียดสี หรือแกล้งกล่าวใส่ร้าย
(2) เคลือบคลุม หรือ
เข้าใจยาก
(3) ใน
เรื่องที่ได้ตอบแล้ว
หรือได้ชี้แจงแล้วว่าไม่ตอบ หรือที่ตกไป
(4) เป็นเรื่องที่มีประเด็นคำถาม
ซำ้
กับกระทู้ถามซึ่งมีผู้เสนอมาก่อน
(5) เพื่อให้
ออกความเห็น
(6) ใน
ปัญหาข้อกฎหมาย
(7) ในเรื่องไ
ม่เป็นสาระสำคัญ
(8) เพื่อทราบ
กิจการส่วนตัวของบุคคล
ใดๆ เว้นแต่ที่เกี่ยวกับงานในหน้าที่ราชการ
การตอบกระทู้ถาม
ผู้บริหารมีสิทธิไม่ตอบเมื่อเห็นว่าเป็นเรื่องที่ยังไม่ควรเปิดเผย เพราะเกี่ยวกับประโยชน์
สำคัญของทางราชการ โดยต้องให้สภาทราบภายใน 7 วัน ข้อ98
ผู้บริหารขอเลื่อนการตอบได้ และต้องชี้แจงเหตุผลพร้อมกำหนดเวลา
ที่จะตอบ หากนานเกินไป (สภามีสิทธิกำหนดเวลาให้ตอบได้) ข.99
การสิ้นผลของกระทู้ถาม
1) การถอนกระทู้ถาม
1.1 ผู้ตั้งกระทู้ถามมีสิทธิถอนเมื่อใดก็ได้และห้ามผู้นั้นยื่นกระทู้ถามในเรื่องนั้นอีก
1.2 ผู้ตั้งกระทู้ถามไม่ถาม/ไม่อยู่เมื่อถึงระเบียบวาระให้ถือว่าถอนกระทู้ถามนั้น
2) กระทู้ถามตกไป เมื่อสมาชิกภาพของผู้ตั้งกระทู้ถามสิ้นสุดลง ให้ถือว่ากระทู้ถามตกไป ข.97
กระทู้ที่ยังไม่ตอบระงับไป
1) ครบวาระสภาท้องถิ่น
2) ยุบสภาท้องถิ่น
3) ปิดสมัยประชุม
4) ผู้บริหารพ้นจากต าแหน่ง
อบจ.
ให้จัดส่งข้อสอบถามไปยังผู้ว่า ฯ ภายใน 3 วัน ตาม ม.32 พรบ. อบจ. โดยให้กำหนด วัน เวลา ที่ จะตอบไว้ในการประชุมสภาคราวใดด้วย ข.102
หมวด 8 คณะกรรมการสภาท้องถิ่น
คณะกรรมการสามัญ
ประกอบด้วยสมาชิกสภาท้องถิ่น มีจำนวน 3 - 7 คน
คณะกรรมการวิสามัญ
ประกอบด้วยสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือ
บุคคลที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น
มีจำนวน 3 - 7 คน
กรณี อบจ.
บุคคลที่ไม่ได้เป็นสมาชิกฯ เป็น คกก. วิสามัญทั้งคณะไม่ได้ ข.103
กรณีเทศบาล
การตั้งคณะกรรมการวิสามัญของสภาเทศบาล นายกเทศมนตรีมีสิทธิเสนอชื่อผู้เป็นหรือ มิได้เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เพื่อให้สภาเทศบาลแต่งตั้งเป็นกรรมการวิสามัญได้ไม่เกิน
1 ใน 4
ของ
จำนวนกรรมการวิสามัญทั้งหมด ข.103
ลาออกยื่นหนังสื่อต่อประธาน สภา
การเลือกคณะกรรมการสภาท้องถิ่น
การเลือกคณะกรรมการสภาท้องถิ่น ให้สมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่นเสนอชื่อสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือบุคคลที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นก็ได้
ในกรณีที่สมาชิกสภาท้องถิ่นเป็นผู้เสนอต้องมีสมาชิกสภาท้องถิ่นรับรองไม่น้อยกว่า 2 คน ส่วนกรณีที่ผู้บริหารท้องถิ่นเป็นผู้เสนอไม่ต้องมีผู้รับรอง
การเสนอชื่อให้เสนอได้โดยไม่จ ากัดจ านวน เว้นแต่ที่ประชุมมีมติเป็นอย่างอื่น
ข. 12 ให้เลือกคนที่ 1 ก่อน แล้วเลือกคนถัดไปจนกว่าจะครบตามจำนวน (เลือกทีละคนนั้นเอง)
ให้กรรมการ เลือกประธาน 1 คยและเลขา 1 คน
การนัดประชุมครั้งแรก เป็นหน้าที่เลขสภา ข.109
คณะกรรมการแปรญัตติ
เมื่อ คกก.แปรได้พิจารณาร่าง งป. แล้วให้ส่งร่างตามเดิมและที่มีแก้ไข โดยต้องระบุ ว่ามีการแก้ไข เพิ่มเติมตอนใด ข้อใด การแปรญัตติและมติ ของกรรมการเป็นอย่างไร การสงวนความเห็นของ คณะกรรมการแปรญัตตติ ตลอดการสงวนคำแปร
ผู้แปรญัตติชี้แจงได้เฉพาะที่ได้แปรญัตติ
เมื่อ คกก. สภา มีมติให้เชิญผู้ใดมาแถลงข้อเท็จจริง ให้เชิญในนามประธานสภา
เมื่อจะทำการประชุมต้องแจ้งล่วงหน้าให้ ผู้บริหาร สมาชิก ผู้เสนอญัตติ และผู้แปรญญัติ ไม่น้อยกว่า 24 ชม.
ถ้าผู้้แปรญัตติ มาช้ากว่า 30 นาที ถือว่าถอนคำแปร เว้นมีความจำเป็น
หมวด 9 การรักษาระเบียบและความสงบเรียบร้อย
ข้อห้าม
ห้ามใช้คำหยาบ ไม่สุภาพ เสียดสี ใส่ร้าย
แสดงกิริยาอันน่ารังเกียจ
3.ก่อกวนความสงบ
4.ขัดคำสั่งประธานสภาฯ
ประธานสภา ตักเตือน ห้ามปราม ให้ถอนคำพูด
คำสั่งประธานสภา ให้เป็นเด็ดขาด
หมวด 10 การแถลงนโยบาย
เมื่อผู้บริหารขอแถลงนโยบายตาม พรบ.จัดตั้ง ให้ประธานสภา บรรจุไว้ในวาระโดยเร็ว เป็นเรื่องด่วน
ผู้บริหารเท่านั้นที่มีสิทธิอภิปราย ตอบข้อซักถาม หรือคัดค้านของสมาชิก