Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (วัตถุประสงค์ (3.บอกประโยชน์และโครงสร้างของระบบ…
การสื่อสารและระบบเครือข่าย
การประมวลผลกับการสื่อสารข้อมูล
องค์ประกอบพื้นฐานของระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์
ระะบบประมวลผลข้อมูลแบบไคลเอนต์
ระบบประมวลข้อมูลแบบกระจาย
ระบบการประมวลผลข้อมูลเครือข่าย
เน็ตเวิร์กการ์ต
เป็นอุปกรณ์ที่ถูกติดตั้งในคอมพิวเตอร์เพื่อเชื่อมกับเคเบิ้ลในระบบเน็ตเวิร์ก ทำหน้าที่รับข้อมมูลจากคอมพิวเตอร์ จะแปลงสัญญาณที่ได้รับจากเคเบิ้ลให้เป็นข้อมูลข้อมูลคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ง่าย
สื่อกลางหรือช่องทางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางมีสาย
สายโคแอกเชียส สาย STP
ใยนำแสง
สายคู่บิดเกลียว สาย UTP
สื่อกลางประเภทไร้สาย
ไมโครเวฟ
ดาวเทียม
โปรโตคอล
OSI
TCP
วัตถุประสงค์
3.บอกประโยชน์และโครงสร้างของระบบเครือข่ายได้
2.อธิบายความแตกต่างของสายสัญญาณแต่ละชนิดได้
4.อธิบายประเภทและรูปแบบของระบบเครือข่ายได้
1.บอกความหมายของเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ได้
5.อธิบายลักษณะการทำงานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้
การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การประยุกต์ใช้การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
วัตถุประสงค์ของการใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใช้ทรัพยากรร่วมกัน
ใช้ข้อมูลในไฟล์ร่วมกัน
ความง่ายในการดูแลระบบ
ใช้การเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ - ส่งข้อมูลตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปเข้าด้วยกันเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลอีเล็กทรอนิกส์ระหว่างกัน - การให้บริการข้อมูล เช่น ฐานข้องมูลงานวิจัย - ร่วมกันใช้ทรัพยากรอื่นๆ เช่น เคื่องพริ้นเตอร์ เครื่องสแกนเนอร์ - การเชื่อมคอมพิวเตอร์โดยผ่านสื่อกลางไร้สายด้วยอุปกรณ์ส่ง-รับข้อมูล เช่น จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม เป็นต้น
แบ่งได้เป็น 5 ระบบ
ผู้ส่ง (Sender)
ผู้รับ (Receiver)
ข่าวสารหรือข้อมูล (Message)
สื่อกลาง (Media)
โปรโตคอล (Potocol)
ชนิดของสัญญาณและทิศทาง
วิธีการถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน
ข้อดี : ส่งข้อมูลได้รวดเร็ว ส่งข้อมูลพร้อมกันหลายๆบิต
ข้อเสีย : จำนวนสายส่งขอมูลที่ใช้ต้องมีเท่ากับจำนวนบิตที่ส่ง ทำให้ค้าใช้จ่ายสูง
การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม
สามารถส่งข้อมูลได้ครั้งละบิต โดยจะส่งผ่านไปตามสายส่งเรียงลำดับตามกันไปเพียงสายเส้นเดียว จึงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ส่งระยะทางไกล ความเร็วจะน้อยกว่าแบบขนาน
การติดต่ออนุกรมอาจแบ่งตามรูปแบบการรับ-ส่ง 3 แบบ
2. การสื่อการแบบสองทางครึ่งอัตรา
ข้อมูลส่งได้ทั้งสองทิศทาง แต่จะผลัดกันส่งครั้งละทิศทางเดียวเท่านั้น นั้นคือ ผู้ส่งและผู้รับสามารถทำหน้าที่ได้ทั้งส่งและรับข้อมูล แต่ไม่สามารถทำในเวลาเดียวกัน เช่น วิทยุสื่อสารของตำรวจ การส่ง E-mail เป็นต้น
3. การศึกษาแบบสองทางเต็มอัตรา
ข้อมูลสามารถส่งได้ทั้งสองทิศทางพร้อมกันโดยผู้ส่งและผู้รับ ทำหน้าที่ส่งและรับข้อมูลพร้อมกัน เช่น โทรศัพท์ การUpload Download ข้อมูลพร้อมๆกันในอินเตอร์เน็ตเป็นต้น
1.
การสื่อการแบบทางเดียว
ข้อมูลจะถูกส่งไปในทางเดียวเท่านั้น โดยผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลไปให้ผู้รับได้อย่างเดียว ส่วนผู้รับไม่สามารถตอบโต้กลับมาได้ เช่น วุทยุ ทีวี เป็นต้น
ชนิดของสัญญาณที่ใช้ในการสื่อสาร
การส่งสัญญาณแบบอะนาล็อก
เป็นการส่งสญญาณที่มีค่าต่อเนื่อง อยู่ในรูปแบบของคลื่น ซึ่งจะถูกส่งไปในรูปแบบของสัญญาณไฟฟ้า มีการแปลงระดับสัญญาณขึ้น-ลง ตามขนาดของสัญญาณ และความถี่ที่เรียกว่า Hertz (H) เช่น การพูดทางโทรศัพท์
การส่งสัญญาณแบบดิจิตอล
เป็นสัญญาณที่มีค่าเปลี่ยนแปลง จะมีค่า "0" หรือ "1" เท่านั้น และมีการกำหนดรหัสเอาไว้เรียกว่าสัญญาณฟิลส์ การเปลี่ยนแปลงของระดับสัญญาณไม่มีความต่อเนื่อง (สูง=1 และต่ำ =0)
ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
หลักการของ NOS
บริการจัดเก็บไฟล์และการพิมพ์
บริการอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ต
บริการรักษาความปลอดภัย
บริการมัลติโพรเซสซิ่งและคลัสริ่ง
ดูแลและการจัดระบบ
อุปกรณ์เครือข่าย
สวิตซ์
เราเตอร์
ฮับ
บริดจ์
รีพีตเตอร์
เดตเวร์
ประเภทของระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระดับเมือง
ระบบเครือข่ายท้องถิ่น
ระบบเครือข่ายระดับประเทศ
การเชื่อมโยงเครือข่ายระบบ LAN
โทโปโลยีแบบบัส
โทโปโลยีแบบรูปวงแหวน
โทโปโลยีแบบรูปดาว